กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสุดา ยามาเล็น




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5290-02-06 เลขที่ข้อตกลง 12/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5290-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์กรสหพันธ์ทันตกรรมโลก (FDI World Dental Federation) ได้ให้นิยามใหม่ของคำว่า “สุขภาพช่องปาก” โดยกำหนดให้เป็นส่วนสำคัญของสุขภาพโดยทั่วไปทั้งทางร่างกายและจิตใจ การมีสุขภาพช่องปากที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมย่อมส่งผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกกลุ่มวัย ปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคในช่องปาก เช่น        การบริโภคน้ำตาลล้นเกิน ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงร่วม (Common risk factors) ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง                (Non-Communicable Diseases: NCDs) ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอีกด้วย จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 พ.ศ.2566 พบว่า ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน  มีฟันน้ำนมปราศจากฟันผุเพิ่มขึ้น กลุ่มเด็กวัยเรียน มีฟันถาวรปราศจากฟันผุเพิ่มขึ้น แต่ยังพบคราบจุลินทรีย์ และปัญหาเหงือกอักเสบเช่นเดียวกับผลสำรวจครั้งที่ผ่านมา ในกลุ่มวัยทำงานและสูงอายุ ปัญหายังคงใกล้เคียงกับเมื่อ 5 ปีที่ผ่านมาส่วนใหญ่มีประสบการณ์การสูญเสียฟัน ในกลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นมากกว่าครึ่งมีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ ซึ่งแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ภาพรวมการเข้าถึงบริการทันตกรรมในทุกกลุ่มวัยลดลงจากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อการจัดบริการทันตกรรมทั้งในสถานบริการสาธารณสุขและในโรงเรียน
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2, 3, 4 ตำบลสาคร เห็นสอดคล้องกับผลการสำรวจดังกล่าวว่าการพัฒนากิจกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการปัญหาสุขภาพช่องปากในแต่ละกลุ่มวัยมีความจำเป็น นอกจากนั้นการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคก็มีความสำคัญ ซึ่งการสนับสนุนให้เกิดมาตรการทั้งการส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรครักษา และฟื้นฟู อย่างต่อเนื่องเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องทำพร้อมๆ กันไป ทั้งนี้เพื่อประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดช่วงชีวิต จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มแกนนำด้านทันตสาธารณสุขมีความรู้ด้านทันตสุขภาพ สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง ตลอดจนสามารถนำไปเผยแพร่แก่ประชาชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุขให้มีความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  2. แกนนำด้านทันตสาธารณสุข มีทักษะในการให้ทันตสุขศึกษาแก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    -แกนนำทันตสาธารณสุขมีความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชาชน ตลอดจนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง

    -ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุขให้มีความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำด้านทันตสาธารณสุข (24 คน จาก 30 คน) มีคะแนนการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปาก 80 คะแนนขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน

     

    2 แกนนำด้านทันตสาธารณสุข มีทักษะในการให้ทันตสุขศึกษาแก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1 ใน 3 ของแกนนำด้านทันตสาธารณสุข (10 คน จาก 30 คน) สามารถให้ทันตสุขศึกษาแก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง (มีคะแนนการประเมินจากเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข/ทันตบุคลากร 80 คะแนนขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน)

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุขให้มีความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (2) แกนนำด้านทันตสาธารณสุข มีทักษะในการให้ทันตสุขศึกษาแก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านทันตสาธารณสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 68-L5290-02-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุดา ยามาเล็น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด