โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568 ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาบีละห์ ปูเต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8300-1-01 เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8300-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถิติการตั้งครรภ์ในปัจจุบันมีมากขึ้น โดยในโรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพตำบลบ้านกรือซอในปี 2567 มีมารดาคลอดทั้งหมด 40 คน และกำลังตั้งครรภ์ทั้งหมด 14 คน ได้รับบริการฟื้นฟูหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25 จากสถิติเห็นได้ว่าหญิงหลังคลอดยังขาดการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย อาจเพราะขาดความรู้และไม่ทราบถึงประโยชน์การดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจึงให้ความสำคัญน้อยมาก ซึ่งศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยเกี่ยวข้องกับการดูแลมารดาหลังคลอดนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทยที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากตลอดการตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด มารดาตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจมากมาย แม้ว่าหลังคลอดแล้วร่างกายจะมีการปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง แต่เมื่ออายุมากขึ้นภูมิต้านทานของมารดาหลังคลอดจะน้อยลง มีภาวะร้อนๆหนาวๆ ปวดกล้ามเนื้อตามร่างกาย และป่วยบ่อยครั้ง การดูแลหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมารดาหลังคลอด การฟื้นฟู การส่งเสริม การป้องกัน การรักษาสุขภาพ ในระยะหลังคลอด จะเป็นการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้กลับเข้าสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว เพราะสุขภาพของผู้เป็นแม่ มีความสำคัญไม่เฉพาะต่อตัวเองเท่านั้น แม่ยังเป็นพื้นฐานสำคัญในการดูแลสุขภาพของครอบครัว โดยเฉพาะสุขภาพของลูก เนื่องจากมารดามีปัญหาน้ำนมไหลน้อยและน้ำนมไม่ไหล ทำให้ทารกได้รับน้ำนมไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายและเป็นอุปสรรคต่อความสำเร็จในการลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป็นสาเหตุให้ยุติการให้นมบุตรในระยะเริ่มแรก ดังนั้นการดูแลที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดผลกระทบดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้มารดาหลังลอดยังขาดความรู้การดูแลสุขภาพหลังลอด ทั้งในเรื่องอาหาร ยารักษาโรคพฤติกรรมสุขภาพหลังคลอด ทั้งทางกายภาพและจิตใจ เพื่อให้ร่างกายฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว จึงควรได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ
งานแพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านกรือซอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ตามแนวทางเวชปฏิบัติติในเขตรับผิดชอบของสถานบริการ เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ของผู้มาฝากครรภ์ ในปี 2568 และมีกำหนดคลอดในปี 2568 จำนวน 30 คน เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่ถูกต้อง มีสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนสามารถเลี้ยงดูบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสุขภาพหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
- เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และระดับการไหลของน้ำนมเพิ่มข้น
- มารดาหลังคลอดได้รับความพึงพอใจการบริการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสุขภาพหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดได้รับการบริการฟื้นฟูสุขภาพ
2
เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และระดับการไหลของน้ำนมเพิ่มข้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดมีระดับการไหลเพิ่มขึ้น
3
มารดาหลังคลอดได้รับความพึงพอใจการบริการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ได้รับความพึงพอใจระดับดีมาก
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสุขภาพหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย (2) เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และระดับการไหลของน้ำนมเพิ่มข้น (3) มารดาหลังคลอดได้รับความพึงพอใจการบริการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8300-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนาบีละห์ ปูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568 ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาบีละห์ ปูเต๊ะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8300-1-01 เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L8300-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถิติการตั้งครรภ์ในปัจจุบันมีมากขึ้น โดยในโรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพตำบลบ้านกรือซอในปี 2567 มีมารดาคลอดทั้งหมด 40 คน และกำลังตั้งครรภ์ทั้งหมด 14 คน ได้รับบริการฟื้นฟูหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25 จากสถิติเห็นได้ว่าหญิงหลังคลอดยังขาดการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย อาจเพราะขาดความรู้และไม่ทราบถึงประโยชน์การดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจึงให้ความสำคัญน้อยมาก ซึ่งศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยเกี่ยวข้องกับการดูแลมารดาหลังคลอดนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทยที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากตลอดการตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด มารดาตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจมากมาย แม้ว่าหลังคลอดแล้วร่างกายจะมีการปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง แต่เมื่ออายุมากขึ้นภูมิต้านทานของมารดาหลังคลอดจะน้อยลง มีภาวะร้อนๆหนาวๆ ปวดกล้ามเนื้อตามร่างกาย และป่วยบ่อยครั้ง การดูแลหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมารดาหลังคลอด การฟื้นฟู การส่งเสริม การป้องกัน การรักษาสุขภาพ ในระยะหลังคลอด จะเป็นการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้กลับเข้าสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว เพราะสุขภาพของผู้เป็นแม่ มีความสำคัญไม่เฉพาะต่อตัวเองเท่านั้น แม่ยังเป็นพื้นฐานสำคัญในการดูแลสุขภาพของครอบครัว โดยเฉพาะสุขภาพของลูก เนื่องจากมารดามีปัญหาน้ำนมไหลน้อยและน้ำนมไม่ไหล ทำให้ทารกได้รับน้ำนมไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายและเป็นอุปสรรคต่อความสำเร็จในการลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป็นสาเหตุให้ยุติการให้นมบุตรในระยะเริ่มแรก ดังนั้นการดูแลที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดผลกระทบดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้มารดาหลังลอดยังขาดความรู้การดูแลสุขภาพหลังลอด ทั้งในเรื่องอาหาร ยารักษาโรคพฤติกรรมสุขภาพหลังคลอด ทั้งทางกายภาพและจิตใจ เพื่อให้ร่างกายฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว จึงควรได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ
งานแพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านกรือซอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ตามแนวทางเวชปฏิบัติติในเขตรับผิดชอบของสถานบริการ เพื่อให้ความรู้การดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ของผู้มาฝากครรภ์ ในปี 2568 และมีกำหนดคลอดในปี 2568 จำนวน 30 คน เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่ถูกต้อง มีสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนสามารถเลี้ยงดูบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสุขภาพหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
- เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และระดับการไหลของน้ำนมเพิ่มข้น
- มารดาหลังคลอดได้รับความพึงพอใจการบริการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 30 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสุขภาพหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดได้รับการบริการฟื้นฟูสุขภาพ |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และระดับการไหลของน้ำนมเพิ่มข้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดมีระดับการไหลเพิ่มขึ้น |
|
|||
3 | มารดาหลังคลอดได้รับความพึงพอใจการบริการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ได้รับความพึงพอใจระดับดีมาก |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 30 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสุขภาพหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย (2) เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และระดับการไหลของน้ำนมเพิ่มข้น (3) มารดาหลังคลอดได้รับความพึงพอใจการบริการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการมารดาหลังคลอดสุขภาพดีด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L8300-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนาบีละห์ ปูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......