กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ/กิจกรรม โครงการตรวจยาฆ่าแมลงตกค้างในเกษตรกร หมู่ 3
รหัสโครงการ 68-L4121-02-17
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3
วันที่อนุมัติ 13 มีนาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 9,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2568 30 ก.ย. 2568 9,950.00
รวมงบประมาณ 9,950.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลแม่หวาด เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่สวนยางพารา สวนผลไม้และปลูกผักสวนครัว ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูงขึ้นซึ่งชาวเกษตรกรในพื้นที่หมู่ 3 ไม่เคยได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในร่างกาย ซึ่งประชาชนในพื้นที่มีความสนใจ เพื่อที่จะสามารถป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายจากการใช้สารเคมีดังกล่าว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้รับการตรวจคัดกรอง และได้รับคำแนะนำเพื่อส่งรักษาต่อ

 

0.00
2 2 ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในระดับเสี่ยงและได้รับความรู้ วิธีการป้องกันตนเองจากการใช้สารเคมีในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 68เม.ย. 68พ.ค. 68มิ.ย. 68ก.ค. 68ส.ค. 68ก.ย. 68
1 อบรมให้ความรู้(25 มี.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) 7,950.00              
2 ชุดตรวจเลือดหายาฆ่าแมลง(1 พ.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) 2,000.00              
รวม 9,950.00
1 อบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 7,950.00 0 0.00
25 มี.ค. 68 อบรมให้ความรู้ 50 7,950.00 -
2 ชุดตรวจเลือดหายาฆ่าแมลง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 2,000.00 0 0.00
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 ชุดตรวจเลือดหายาฆ่าแมลงตกค้างในเกษตรกร 50 2,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนรับทราบถึงผลการตรวจสารเคมียาฆ่าแมลงในร่างกายของตน อยู่ในระดับใด
  2. ประชาชนมีความรู้ ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาฆ่าแมลงในการประกอบอาชีพเกษตรกร
  3. ประชาชนที่มีผลการตรวจเลือดที่อยู่ระดับเสี่ยง ได้รับการติดตามซ้ำ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2568 00:00 น.