directions_run
โครงการลำภูราลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการลำภูราลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ปี 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูรา |
วันที่อนุมัติ | 6 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 45,370.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวเบญจมาศ สุขศรีเพ็ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 3 ก.พ. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 45,370.00 | |||
2 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 45,370.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชนที่เร่งรีบแข่งขันกับเวลาเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงานบริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่ | 30.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
|
30.00 | 30.00 |
2 | 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรังมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้
|
30.00 | 30.00 |
3 | 3.เพื่อติดตามระดับความดันโลหิตของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.ร้อยละ 100 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในโครงการได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน 7 วันต่อเนื่อง หลังจบการอบรมทุกเดือน เป็นเวลา 3 เดือน |
30.00 | 30.00 |
4 | 4.เพื่อติดตามระดับน้ำตาลในเลือดของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4.ร้อยละ 100 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในโครงการได้รับการติดตามวัดระดับน้ำตาลในเลือดหลังจบการอบรมเดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 3 เดือน |
30.00 | 30.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 45,370.00 | 0 | 0.00 | |
3 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง | 0 | 9,450.00 | - | ||
3 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 2 ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่โดย อสม. | 0 | 15,270.00 | - | ||
3 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน | 0 | 20,650.00 | - |
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงป่วยมีความรู้ ตระหนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค 2.กลุ่มเสี่ยงสามารถลดระดับลงเป็นกลุ่มปกติ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2568 00:00 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ