โครงการ ลดโรคจากอาหารขยะในโรงเรียนตาดีกา มัสยิดนูรุลฮูดา
ชื่อโครงการ | โครงการ ลดโรคจากอาหารขยะในโรงเรียนตาดีกา มัสยิดนูรุลฮูดา |
รหัสโครงการ | 68-L3024-1-2 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มอิหม่าม คอเต็บ บิหลั่น ตำบลไทรทอง |
วันที่อนุมัติ | 20 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 18,570.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายเกษม มิซอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.604,101.673place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 15 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
“เด็กไทย...”หลายคนไม่ได้กินอาหารเช้า ขณะที่บางคนอาจจะทานก็จริงแต่ไม่ได้คุณภาพ นอกจากนี้ยังมีผู้คนมากมายในสังคมกิน-ดื่มรสชาติหวาน มัน เค็มจัด แถมยังปฏิเสธรับประทานผัก ผลไม้ ละทิ้งอาหารไทยไปนิยมอาหารจากต่างชาติ โดยไม่รู้โทษที่สะสมเข้ามาในร่างกาย นำมาซึ่งความอ้วนและบ่อเกิดสารพัดโรคร้าย สิ่งเหล่านี้คือความจริงที่เกิดขึ้นในสังคมไทยช่วง 10 ปีที่ผ่านมาจนมาถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก จากสถิติพบว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการเพิ่มจำนวนเด็กอ้วนเร็วที่สุดในโลก โดยพบว่าในประเทศไทยมีเด็กอ้วน ร้อยละ 15 อ.สง่า ดามาพงษ์ ที่ปรึกษากรมอนามัยและอุปนายกสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ภาคีของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้กล่าวว่า สาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาโรคอ้วนในเด็กไทย คือ พฤติกรรมบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น อาหารขยะ (Junk food) และน้ำอัดลม เป็นต้น พฤติกรรมบริโภคของเด็กส่งผลถึงประสิทธิภาพในการเรียน สติปัญญา และคุณภาพพลเมืองในอนาคต ซึ่งถือเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ โดยสถานการณ์ดังกล่าว ถ้ายังปล่อยให้เด็กอ้วนโดยไม่มีการควบคุมดูแล จะโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่อ้วนถึงร้อยละ 30 ถ้าปล่อยให้อ้วนไปเรื่อยๆ เด็กเหล่านี้จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่อ้วนถึงร้อยละ 80 แล้วพอผู้ใหญ่อ้วนนั้นก็จะมีโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ตามมามหาศาล โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือด ทำให้ประเทศสูญเสียเงินทองมากมายเพื่อดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเหล่านี้ เป็นการทำลายเศรษฐกิจโดยสิ้นเชิง ในการนี้ ชมรมตาดีกาตำบลไทรทอง เล็งเห็นถึงอันตรายของอาหารขยะ และผลกระทบที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการ ลดโรคจากอาหารขยะในโรงเรียนตาดีกา มัสยิดนูรุลฮูดา นี้ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑ เพื่อลดการเกิดโรคจากอาหารขยะ ๒ เพื่อให้เด็กทราบถึงอันตรายของอาหารขยะ ๓ เพื่อลดการกินอาหารขยะของชุมชน ๔ เพื่อลดปัญหาโรคอ้วนในเด็ก นักเรียนและครูโรงเรียนตาดีกามัสยิดนูรุลฮูดา จำนวน 95 คน |
100.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางในการดำเนินโครงการ
- จัดทำโครงการเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาอนุมัติขั้นตอน
- สถานการณ์อาหารขยะ
- โรคเรื้อรังจากอาหารขยะ
- อันตรายของอาหารขยะ แบ่งเป็นฐานให้ความรู้ 4 ฐาน
- ฐานที่ 1 ไส้กรอก ลูกชิ้น
- ฐานที่ 2 น้ำอัดลม
- ฐานที่ 3 เฟรนซ์ฟราย เบอร์เกอร์ KFC
- ฐานที่ 4 ขนมกรุบกรอบ
๑. เด็กไม่เป็นโรคเรื้อรังจากอาหารขยะ ๒ เด็กกินอาหารขยะลดลง ๓ เด็กทราบถึงอันตรายของอาหารขยะ ๔ เด็กไม่เป็นโรคอ้วน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2568 16:36 น.