กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ การพัฒนาการจัดการโรคเบาหวานสู่เบาหวานระยะสงบ หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายสมาน ออสันตินุตสกุล




ชื่อโครงการ การพัฒนาการจัดการโรคเบาหวานสู่เบาหวานระยะสงบ หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3306-02-003 เลขที่ข้อตกลง 013/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"การพัฒนาการจัดการโรคเบาหวานสู่เบาหวานระยะสงบ หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาการจัดการโรคเบาหวานสู่เบาหวานระยะสงบ หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘



บทคัดย่อ

โครงการ " การพัฒนาการจัดการโรคเบาหวานสู่เบาหวานระยะสงบ หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3306-02-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลกองโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคโรคเบาหวานเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-Communicable Diseases) ที่เป็นภาวะโรคสำคัญของระบบสาธารณสุขในแต่ละประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ซึ่งคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2588 จะมีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกเพิ่มขึ้นเป็น 783 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนของโรค 3.2 ล้านคนต่อปีสำหรับประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น 3 แสนคนต่อปี อัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรจากโรคเบาหวานปี 2558 - 2562 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขในการรักษาโรคเบาหวานเฉลี่ยสูงถึง 47,596 ล้านบาทต่อปี อีกทั้งผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้
สำหรับประเทศไทยจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 6 (ปี 2563) พบว่า ความชุกของโรคเบาหวานในประซากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.9 ในปี 2557 เป็นร้อยละ 9.5 ในปี 2563 และอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก ข้อมูล Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ปี 2566 พบว่า มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้น 3 แสนคนต่อปี และมีผู้ป่วยสะสม 3.4 ล้านคน อีกทั้งผู้ป่วยส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 70 ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรจากโรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ทั้งนี้ หากผู้ป่วยไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่องตามแนวทางมาตรฐานจะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในระบบของร่างกายทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง อันนำไปสู่ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพบริการให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญการจัดทำรูปแบบการจัดการโรคเบาหวานให้เข้าสู่ระยะสงบ (Diabetes Remission) จึงเป็นสิ่งสำคัญเพื่อส่งเสริมให้ผู้เป็นเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง โดยใช้ข้อมูลที่เป็นจริงเพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนในการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริงของแต่ละรายบุคคล โดยให้ผู้ป่วยทำ Self-monitoring และบันทึกข้อมูล แพทย์ พยาบาล นักโภชนาการวิเคราะห์ข้อมูล และนำมา Counseling วางแผนการรักษาพยาบาลให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เป็นเบาหวานแต่ละบุคคล และมีการติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่องผ่านระบบ Telemedicine พูดคุยสอบถามแนะนำทางโทรศัพท์ ลดการเดินทางมาโรงพยาบาลและประหยัดเวลาในการรอคอย ส่งผลให้ผู้เป็นเบาหวานเข้าใจถึงความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเองเพื่อลดความรุนแรงและความเสี่ยงของโรค คาดหวังให้เกิดการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้เป็นเบาหวานอย่างยั่งยืน รวมถึงลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคมุ่งสู่เบาหวานระยะสงบ (Diabetes Remission) ได้ พบว่ายอดจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ในปี ๒๕๖๗ จำนวนผู้ป่วยเบาหวานของหมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ทั้งหมด ๓๕ คน และพบผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงมากขึ้น ในกลุ่มที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี ดังนั้นทางชมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม  ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการการพัฒนาการจัดการโรคเบาหวานสู่เบาหวานระยะสงบขึ้นซึ่งจะนำไปสู่การลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถเข้าสู่ระยะสงบได้
  2. ๒ เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดยาหรือหยุดยาเบาหวานได้ส่งผลต่อการลดค่าใช้จ่ายในการรักษา
  3. ๓ เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่เจ็บป่วยด้วยภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงและให้ความรู้ผู้แก่ อสม.
  2. กิจกรรมอบรมอสม.ชวนนับคาร์บ
  3. กิจกรรมให้ความรู้และเยี่ยมติดตาม
  4. ติดตามผ่านระบบ Application line
  5. นัดติดตาม HbA1C
  6. สรุปผลรายงานผล
  7. กิจกรรมประชุมชี้แจงและให้ความรู้ผู้แก่ อสม.ตามพื้นที่รับผิดชอบและแจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการโดยผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์จากโรงพยาบาลกงหรา
  8. กิจกรรมอบรมอสม.ชวนนับคาร์บพร้อมกับผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการเพื่อสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจในการดูแลติดตามผู้ป่วยเบาหวาน
  9. กิจกรรมให้ความรู้และเยี่ยมติดตามเสริมพลังแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการฯ
  10. จัดซื่อวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ
  11. นัดติดตาม HbA1C ทุก 3 เดือน
  12. สรุปผลรายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถเข้าสู่ระยะสงบได้
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถเข้าสู่ระยะสงบได้ ≥ ร้อยละ10

 

2 ๒ เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดยาหรือหยุดยาเบาหวานได้ส่งผลต่อการลดค่าใช้จ่ายในการรักษา
ตัวชี้วัด : 2.ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดยาหรือหยุดยาเบาหวานได้ส่งผลต่อการลดค่าใช้จ่ายในการรักษา

 

3 ๓ เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่เจ็บป่วยด้วยภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 3.เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่เจ็บป่วยด้วยภาวะแทรกซ้อน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถเข้าสู่ระยะสงบได้ (2) ๒  เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดยาหรือหยุดยาเบาหวานได้ส่งผลต่อการลดค่าใช้จ่ายในการรักษา (3) ๓  เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าร่วมโครงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่เจ็บป่วยด้วยภาวะแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงและให้ความรู้ผู้แก่ อสม. (2) กิจกรรมอบรมอสม.ชวนนับคาร์บ (3) กิจกรรมให้ความรู้และเยี่ยมติดตาม (4) ติดตามผ่านระบบ Application line (5) นัดติดตาม HbA1C (6) สรุปผลรายงานผล (7) กิจกรรมประชุมชี้แจงและให้ความรู้ผู้แก่ อสม.ตามพื้นที่รับผิดชอบและแจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการโดยผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์จากโรงพยาบาลกงหรา (8) กิจกรรมอบรมอสม.ชวนนับคาร์บพร้อมกับผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการเพื่อสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจในการดูแลติดตามผู้ป่วยเบาหวาน (9) กิจกรรมให้ความรู้และเยี่ยมติดตามเสริมพลังแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการฯ (10) จัดซื่อวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ (11) นัดติดตาม HbA1C ทุก 3 เดือน (12) สรุปผลรายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การพัฒนาการจัดการโรคเบาหวานสู่เบาหวานระยะสงบ หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3306-02-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมาน ออสันตินุตสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด