กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางหยาด นุ่มหยู่




ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี)

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3306-02-004 เลขที่ข้อตกลง 009/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2568-L3306-02-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล

จากรายงานองค์การอนามัยโลกพบว่า ในทุกๆปี มีเด็กทั่วโลก (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) เสียชีวิตจากการจมน้ำ เป็นอันดับ ๓ รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและเอดส์ สำหรับสถานการณ์ของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ ๑ ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ซึ่งมีจำนวนการเสียชีวิตสูงมากกว่าโรคติดต่อนำโดยแมลงและไข้เลือดออกถึง ๑๔ เท่าตัว จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุกๆ ๘ ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต ๑ คน โดยเฉลี่ยทุกๆ ๑ เดือนประเทศไทยสูญเสียเด็กจากการจมน้ำเสียชีวิตมากกว่า ๙๐ คน นอกจากนี้ สำนักควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากจมน้ำ พบว่า กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี พบจมน้ำเสียชีวิตสูงเฉลี่ยถึงปีละ ๒๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑ ของกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปีทั้งหมดในปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจมน้ำยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ซึ่งสาเหตุดังกล่าวยังเป็นอันดับแรกของการเสียชีวิตของเด็กส่วนใหญ่ของประเทศไทยจากข้อมูลรายงานกระทรวงสาธารณสุขว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ พบว่าการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่าอายุ ๑๕ ปี ทั่วโลกเสียชีวิต เฉลี่ยวันละ ๓๗๕ คน ส่วนสถิติในประเทศไทยเด็กในอายุดังกล่าวจะเสียชีวิตเฉลี่ยปีละ ๑,๔๐๐ คน หรือเฉลี่ยวันละ ๔ คน ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับการเสียชีวิตทุกสาเหตุ ขณะที่ประเทศไทยมีเด็กที่เสียชีวิตจากการจมน้ำมากกว่าประเทศที่พัฒนา แล้ว ๕-๑๕ เท่าตัว เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ซึ่งเมื่อเทียบกับการเสียชีวิตจากสาเหตุอื่นๆ
จากข้อมูลย้อนหลังในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา พบว่าในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน (มีนาคม - พฤษภาคม) เป็นช่วงที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงสุด ในบางปีมีจำนวนสูงเกือบ ๔๐๐ คน ซึ่งจํานวนและอัตราการเสียชีวิตตอประชากรเด็กแสนคน จากมูลเหตุดังกล่าว หากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการตายจากการจมน้ำของเด็ก เพื่อเป็นการป้องกันและการเฝ้าระวังปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำป้องกันก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ จึงต้องให้นักเรียนและประชาชนทั่วไป มีทักษะการว่ายน้ำ สามารถช่วยเหลือตนเองให้สามารถว่ายน้ำ และรอดจากการเสียชีวิตจากการจมน้ำได้ จำเป็นจะต้องฝึกหัดให้ได้ฝึกหัดว่ายน้ำ หรือ ว่ายน้ำเป็น และเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีช่วยชีวิตคนจากการจมน้ำแบบวิธีช่วยเหลือมาตรฐานสากล โดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ได้เห็นความสำคัญของปัญหาการจมน้ำและการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำทั้งในเด็กและประชาชนทั่วไป ในการป้องกันดำเนินงานอย่างต่อเนื่องจากปี ๒๕๖๗ ในการป้องกันจมน้ำและการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ เพื่อการพัฒนาการดำเนินการป้องกันการจมน้ำต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่
  2. ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้
  3. ๓ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคู
  2. อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคู

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ       ๑. มีการบริหารจัดการให้มีการดำเนินงานการป้องกันเด็กจมน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตาม         มาตรการดำเนินงานการป้องกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน จากสำนักงาน         ควบคุมโรคไม่ติดต่อ ๒. เขตพื้นที่บริการของ รพ.สต.บ้านคู ไม่มีเด็กอายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : ทีมผู้ก่อการดีในชุมชนได้รับการฟื้นฟู พัฒนาทักษะ และความรู้ จำนวน ๑ ทีม

 

2 ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้
ตัวชี้วัด : เด็ก ๖-๑๔ ปี ผ่านการอบรม “การว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” จำนวน ๑ ครั้ง

 

3 ๓ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง
ตัวชี้วัด : มีการกำหนดจุดเสี่ยงการจมน้ำ จำนวน ๕ หมู่บ้าน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ (2) ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ (3) ๓ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคู (2) อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคู

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2568-L3306-02-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหยาด นุ่มหยู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด