โครงการ การจัดบริการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานในประชาชนกลุ่มเสี่ยง (Pre-Dmremission) หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘
ชื่อโครงการ | โครงการ การจัดบริการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานในประชาชนกลุ่มเสี่ยง (Pre-Dmremission) หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ |
รหัสโครงการ | 2568-L3306-02-008 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๓ |
วันที่อนุมัติ | 26 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสมาน ออสันตินุตสกุล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.349,99.958place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงหัวใจ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง ฯลฯ เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่านอกจากการบริการทางคลินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าวซึ่งการบริการสุขภาพภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลให้ประชาชนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานที่จำเป็น รวมทั้งการบริการสุขภาพเพื่อป้องกันและควบคุมโรคเป็นสำคัญ โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ถือเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ความเครียด การออกกำลังกาย พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ซึ่งหากประชาชนไม่สามารถควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และต้องได้รับการรักษารับประทานยาตลอดชีวิต อีกทั้งหากมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ส่งผลให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น นั้น
ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ได้เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงของโรคเบาหวานในกลุ่มวัยทำงาน จึงจัดทำโครงการ การจัดบริการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานในประชาชนกลุ่มเสี่ยง (Pre-Dmremission) หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ เพื่อเป็นการส่งเสริม กระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายวัยทำงาน ตระหนัก รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น เป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑ เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ |
||
2 | ๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และเหมาะสม กลุ่มเสี่ยงสามารถนำความรู้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม |
||
3 | ๓ กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถนำความรู้ ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ โดยมีผลแยกกลุ่มดังนี้ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มเป็นโรค |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 | ต.ค. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ให้ความรู้ และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ(1 เม.ย. 2568-30 เม.ย. 2568) | 0.00 | |||||||
2 | รับสมัครกลุ่มเสี่ยง(1 เม.ย. 2568-30 เม.ย. 2568) | 0.00 | |||||||
3 | จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์(1 เม.ย. 2568-30 เม.ย. 2568) | 0.00 | |||||||
4 | จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยง(1 เม.ย. 2568-30 เม.ย. 2568) | 0.00 | |||||||
5 | อสม.ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง(1 เม.ย. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | |||||||
6 | สรุป รายงานผลโครงการ(1 ต.ค. 2568-30 ต.ค. 2568) | 0.00 | |||||||
รวม | 0.00 |
1 ให้ความรู้ และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 30 เม.ย. 68 | ให้ความรู้ และสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ | 0 | 0.00 | - | ||
2 รับสมัครกลุ่มเสี่ยง | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 30 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 30 เม.ย. 68 | รับสมัครกลุ่มเสี่ยง | 30 | 0.00 | - | ||
3 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 พ.ค. 68 | จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ | 0 | 0.00 | - | ||
4 จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยง | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลุ่มเสี่ยง | 0 | 0.00 | - | ||
5 อสม.ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | อสม.ติดตามประเมินผลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง | 0 | 0.00 | - | ||
6 สรุป รายงานผลโครงการ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 30 ต.ค. 68 | สรุป รายงานผลโครงการ | 0 | 0.00 | - | ||
๑. เสนอแผนงานให้อนุกรรมการกลั่นกรอง
๒. เสนอแผนงานต่อคณะกรรมการกองทุนเพื่อขออนุมัติงบประมาณ
๓. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ
๔. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง
เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ , โรคหลอดเลือดหัวใจ/สมอง พร้อมตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น/ประเมิน
ความเสี่ยงโรคหัวใจหลอดเลือด
๕. นำกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน เข้าศูนย์คนไทยห่างไกล NCD
เฝ้าระวังและติดตามกลุ่มเสี่ยงโดย อสม.อย่างต่อเนื่องตามแนวทาง
๖. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
๑. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ได้รับความรู้ในการปฏิบัติ และป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน
๒. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ได้รับการติดตาม และส่งต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัย และรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
๓. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของ
ชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 มี.ค. 2568 10:00 น.