กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน ”
ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
สถานีอนามัยบ้านตลิ่งชัน




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,485.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรคNCDs (Non-CommunicableDisease) หรือเรียกว่ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นกลุ่มโรค ที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัสคลุกคลีหรือผ่านตัวนำโรค(พาหะ)หรือสารคัดหลั่งต่างๆหากแต่เกิดจากการใช้ชีวิตของผู้คนในยุคปัจจุบัน เปรียบเหมือนทางด่วนก่อให้เกิดโรคร้ายได้อย่างง่ายดาย และรวดเร็ว โดยเฉพาะพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่สมดุล ทั้งเรื่องการกิน การนอน การออกกำลังกาย และการทำงานล้วนเป็นปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ เพิ่มภาระแก่คนรอบข้างแล้วและยังสร้างภาระแก่สังคมโดยรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งมูลค่าของค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพในแต่ละปีที่มีมูลค่ามหาศาล จากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขพบว่าในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง๕ โรคสะสม(รายใหม่และเก่า) ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๑–๒๕๕๕ จำนวนรวม ๕,๔๗๑,๙๒๙ ราย โรคความดันโลหิตสูง มีอัตราความชุกสูงสุด คือพบผู้ป่วย ๓,๓๙๘,๔๑๒ ราย อัตราความชุก ๕,๒๘๘.๐๑ ต่อประชากรแสนคนรองลงมา คือ โรคเบาหวาน ๑,๗๙๙,๙๗๗ ราย อัตราความชุก ๒,๘๐๐.๘๑ ต่อประชากรแสนคนโรคหัวใจขาดเลือด ๙๒,๗๗๐ ราย (๑๔๔.๓๕) และโรคหลอดเลือดสมอง ๖๗,๑๖๗ ราย (๑๐๔.๕๑) ดูแนวโน้ม ระหว่าง ปีพ.ศ.๒๕๕๑ – ๒๕๕๕ พบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ทุกโรคมีอัตราความชุกของผู้ป่วยสะสมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อัตราการตาย ต่อประชากรแสนคนด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดโรคหลอดเลือดสมองโรคเบาหวานเท่ากับ ๓.๙, ๒๑.๒,๒๐.๘ และ ๑๒.๒ ตามลำดับ จากผลการดำเนินงานคัดกรองผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน พ.ศ.๒๕๕๗ ถึงปีพ.ศ. ๒๕๕๙พบว่าประชาชนที่มีอายุ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ ๙๑.๘๖, ๙๑.๙๘ และ ๘๙.๔๗ ตามลำดับ พบความดันโลหิตสูง ๑๑๓ คน(ร้อยละ ๗.๓๖), ๑๕๐ คน(ร้อยละ ๙.๗๖) และ ๑๓๘ คน(ร้อยละ ๙.๒๓)ตามลำดับ พบน้ำตาลในเลือดสูง ๓๗ คน(ร้อยละ ๒.๑๖), ๓๔ คน(ร้อยละ ๒.๐๐) และ๓๕ คน(ร้อยละ ๒.๐๙)ตามลำดับ แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่สูงขึ้น ทั้งนี้การดำเนินงานด้านสาธารณสุขที่มีจุดมุ่งหมายในการลดการป่วยและการตายของประชาชนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้น ไม่สามารถดำเนินการในด้านใดด้านหนึ่งเพียงอย่างเดียวได้หากแต่ต้องเป็นการดำเนินงานทั้ง ๔ ด้านประกอบด้วยด้านการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชนให้ปลอดโรค ด้านการป้องกันควบคุมโรคโดยการลดและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมสุขภาพและลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ด้านการรักษาพยาบาลในประชาชนที่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและความพิการขึ้น และด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจในภาวะที่เกิดความพิการและภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้สามารถดูแลตนเองได้ไม่เป็นภาระให้กับครอบครัวและสังคม โดยอาศัยการดำเนินงานในลักษณะการเป็นหุ้นส่วนกันระหว่างภาคีเครือข่าย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อภาวะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข ๒. เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,770
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่าน้อยร้อยละ ๙๐ ๒. ค้นพบประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยในพื้นที่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายแล้ว โดยประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขอีกทั้งค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยในพื้นที่พร้อมทั้งส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชนให้ปลอดโรค ด้านการป้องกันควบคุมโรคโดยการลดและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมสุขภาพและลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข ๒. เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : ๑. เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข ๒. เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยในพื้นที่

     

    2
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1770
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,770
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข ๒. เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยในพื้นที่ (2)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สถานีอนามัยบ้านตลิ่งชัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด