กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมชุมชนบ้านเกาทองสมและบ้านเกาะทองสมใหม่ ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเตี้ยน ศรีหนูสุด นางสุพิศ เรืองพุทธ

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมชุมชนบ้านเกาทองสมและบ้านเกาะทองสมใหม่ ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมชุมชนบ้านเกาทองสมและบ้านเกาะทองสมใหม่ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมชุมชนบ้านเกาทองสมและบ้านเกาะทองสมใหม่ ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมชุมชนบ้านเกาทองสมและบ้านเกาะทองสมใหม่ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านเกาะทองสมและบ้านเกาะทองสมใหม่ก็กำลังประสบปัญหาสุขภาพและสภาพแวดล้อมที่ไม่ดีอัน เนื่องมาจากขยะเช่นเดียวกันไม่ว่าจะเป็นปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากรปัญหาการทิ้งขยะไม่เป็นที่ไม่เป็นเวลาและปัญหาขยะตกค้างต่างๆ โดยจาการสำรวจพบว่า ครัวเรือนมีการทิ้งขยะไม่เป็นที่เป็นทาง ไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งถึงร้อยละ 80 มีแหล่งขยะในชุมชนที่ไม่มีใครเข้าไปจัดการ จำนวน 4 แห่งกลายเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรคและสัตว์นำโรค ปี 2560 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกถึง 13 ราย มีผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วง 16 ราย และโรคตาแดง 2 ราย ซึ่งจะเห็นได้ว่าบ้านเกาะทองสมมีประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคที่มีความเชื่อมโยงกับเรื่องขยะในชุมชน ดังนั้นแนวทางแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในระยะยาวจะต้องสนับสนุนและขยายผลให้ประชาชนลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยจากบ้านเรือนโดยหลักการ 3Rs ในการนี้ กลุ่ม อสม. รพ.สต.บ้านเกาะทองสม จึงได้จัดทำโครงการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมชุมชน เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดปริมาณขยะมูลฝอยและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ปัญหาด้านสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีไม่เจ็บป่วย
  2. 2. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
  3. 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฎิบัติการเรื่องภาวะสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี ด้วยการคัดแยกและการจัดการแยกขยะ ตามหลัก 3Rs การสาธิตที่คัดแยกขยะอย่างง่ายในครัวเรือน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน (เป้าหมายหมู่บ้าน ละ 70 คน )

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เมื่อกลุ่มเป็าหมายมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น ทำให้ปริมาณขยะลดน้อยลง ก็จะส่งผลให้โรคระบาดที่มีความสัมพันธ์กับปริมาณขยะ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคตาแดง โรคอุจจาระร่วง ลดน้อยลงรวมทั้งมีสภาพที่ดีไม่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุเชื่้อโรคและสัตว์นำโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฎิบัติการเรื่องภาวะสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี ด้วยการคัดแยกและการจัดการแยกขยะ ตามหลัก 3Rs การสาธิตที่คัดแยกขยะอย่างง่ายในครัวเรือน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน (เป้าหมายหมู่บ้าน ละ 70 คน )

วันที่ 30 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อชี้แจงการดำเนินงานและจัดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้และสามารถจัดการขยะได้

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ครัึวเรือนมีการคัดแยกขยะมากขึ้น 2. ปริมาณขยะในชุมชนลดน้อยลง 3. โรคระบาดที่มีความสัมพันธ์กับขยะ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก ตาแดง อุจจาระร่วง ลดน้อยลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีไม่เจ็บป่วย
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตาแดง อุจจาระร่วง ลดลง
1.00

ปี 2561 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 6 ราย ซึ่งลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (จำนวน 16 ราย) ปี 2561 มีผู้ป่วยโรคตาแดง จำนวน 4 ราย
ปี 2561 มีผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วง จำนวน 58 ราย ซึ่งลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี

2 2. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : 2. มีครัวเรือนคัดแยกขยะ ร้อยละ 60
1.00

จาการลงติดตาม พบว่า ครัวเรือนมีการจัดการที่คัดแยกขยะและมีการคัดแยกขยะเป้นประเภทต่างๆซึ่งจะแตกตางกันออกไปในแต่ละครัวเรือน จำนวน 145 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 53.31 วึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ ทั้งนี้จะได้รณรงค์ให้ครัวเรือนมีการจัดการที่คัดแยกขยะและสามารถคัดแยกขยะในครัวเรือนได้มากขชึ้น

3 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : 3. ปริมาณขยะในชุมชนลดลง
1.00

จาการที่ประชาชน มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน จำนวน 145 ครัวเรือน จะสามารถทำให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลงได้ เพราะประชาชนสามารถทำประโยชน์จากขยะที่คัดแยกได้ไม่ว่าจะนำมาใช้ซ้ำ นำมารีไชเคิล หรือนำไปจำหน่าย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 140
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีไม่เจ็บป่วย (2) 2. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ (3) 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฎิบัติการเรื่องภาวะสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี ด้วยการคัดแยกและการจัดการแยกขยะ ตามหลัก 3Rs การสาธิตที่คัดแยกขยะอย่างง่ายในครัวเรือน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน (เป้าหมายหมู่บ้าน ละ  70 คน )

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมชุมชนบ้านเกาทองสมและบ้านเกาะทองสมใหม่ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเตี้ยน ศรีหนูสุด นางสุพิศ เรืองพุทธ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด