ส่งเสริมสุขภาพต้านยาเสพติดในโรงเรียนบ้านตรัง
ชื่อโครงการ | ส่งเสริมสุขภาพต้านยาเสพติดในโรงเรียนบ้านตรัง |
รหัสโครงการ | 68-L3002-04-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านตรัง |
วันที่อนุมัติ | 26 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางศิริยา ดำรงกูล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.693,101.375place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ค. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 10,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 10,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 63 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญซึ่งมีผลกระทบและเป็นภัยต่อความมั่งคงของประเทศ รัฐบาลได้กำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ และกำหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด เพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงานยาเสพติด และได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบแผนการคุ้มกันและสร้างระบบป้องกันเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ซึ่งเด็กและเยาวชนเป็นเป้าหมายของขบวนการยาเสพติด เนื่องจากเป็๋นวัยที่เอื้อต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดทั้งปัจจัยจากตนเอง คือเป็นวัยต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ ต้องการค้นหาสร้างตัวตนสร้างการยอมรับ มีแรงผลักดันทางอารมณ์สูง กล้าเสี่ยง กล้าทำสิ่งท้าทาย จากสถิติค้ายาเสพติดพบว่า เด็กและเยาวชนที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเริ่มมีอายุน้อยลง ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเรียนรู้วิธีป้องกันยาเสพติดในเด็กและเยาวชนเพื่อจะได้สามารถร่วมมือกัยปกป้องเด็กและเยาวชน
โรงเรียนบ้านตรังจึงเห็นความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพต้านยาเสพติดในโรงเรียน เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ให้ตระหนักถึงพิาภัยของยาเสพติดและให้ความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อีกทั้งเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชนในพื้นที่เป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าของประเทศต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด และโทษของยาเสพติด นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด |
||
2 | เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติด นักเรียนร้อยละ 80 มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติดและปฏิบัติให้ห่างไกลยาเสพติด |
||
3 | นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับคนในครอบครัว เพื่อนบ้านและชุมชน นักเรียนร้อยละ 80 สามารถถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดให้คนในครอบครัว |
||
4 | ชุมชนและหน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ชุมชนและหน่วยงานร่วมแก้ไขปัญหายาเสพติด |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมหลัก เช่น ประชุม รณรงคื จัดบริการ การจัดซื้อ(1 พ.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | |||||
รวม | 0.00 |
1 กิจกรรมหลัก เช่น ประชุม รณรงคื จัดบริการ การจัดซื้อ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดและโทษของยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย และสุขอนามัย
- นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนในให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
- นักเรียนนำความรู้ที่ได้รัลไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้านและชุมชนใกล้เคียง
- ชุมชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2568 14:10 น.