โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายฉลอง สุวรรณลิวงศ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L2975 เลขที่ข้อตกลง 56/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L2975 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลกรมอนามัยรายงานการคลอดในประเทศไทย พบว่าในปี๒๕๕๙ มีจำนวนเด็กที่คลอดจากแม่วัยรุ่นอายุ ๑๐-๑๙ ปี คิดเป็นร้อยละ๑๕ ของการคลอดทั้งหมด สูงเป็นอันดับ ๒ ในภูมิภาคอาเซียน คิดเป็น ๑๓ เท่าของสิงคโปร์ สืบเนื่องจากส่วนใหญ่เยาวชนไม่มีความรู้เรื่องการคุมกำเนิด ขาดทักษะชีวิต ไม่รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจของตนเอง และสาเหตุที่สำคัญที่สุดคือความเจริญของเทคโนโลยี สื่อที่ทันสมัย ที่เอื้อต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ประกอบกับระบบขัดเกลาทางสังคมระดับครอบครัวอ่อนศักยภาพลง เพราะ พ่อแม่ผู้ปกครองต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ในการประกอบอาชีพ และคาดหวังว่าระบบการขัดเกลาของสถาบันการศึกษาสามารถทำหน้าที่ทดแทนครอบครัวได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ครอบครัวยังคงมีบทบาทสำคัญที่ต้องดูแลและขัดเกลา บุตรหลาน และปัญหาดังกล่าวยังเป็นเรื่องที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันหาแนวทางป้องกันและแก้ไข ปัจจุบันพบว่าเด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและความรับผิดชอบของ ตัวเอง ดังนั้นจึงมีความเสี่ยงด้านต่างๆ เช่น เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (HIV)การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง มีน้ำหนักเด็กแรกเกิดต่ำกว่า๒,๕๐๐ กรัม และยังมีผลต่อการออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมทั้งการไม่พร้อมต่อการเลี้ยงลูก กระทำความรุนแรงในครอบครัว เป็นแรงงานราคาถูก ครอบครัวแตกแยก และยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่นๆตามมาอีกมากมายนับวันจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีของการสื่อสารที่ทันสมัย ทำให้กลุ่มเด็กและเยาวชนใช้สื่อ ดังกล่าวในทางที่ไม่ถูกต้อง เป็นเหตุให้มีแนวโน้มที่จะประสบปัญหาดังกล่าวมากขึ้น ประกอบกับเยาวชนส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาแค่ระดับมัธยมตอนต้นไม่ศึกษาต่อ และออกมาประกอบอาชีพ เช่น ลูกจ้าง เกษตรกรรม และทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน ทำให้ขาดความรู้ ความเข้าใจในหลักการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง ทั้งยังไม่สามารถยับยั้งการกระทำที่ขัดกับหลักศาสนา ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่จะปูแนวทางหรือกำหนดชีวิตคนเราให้รู้จักผิดชอบ ชั่วดีได้
จากสถานการณ์ดังกล่าว จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งการดำเนินงานแบบบูรณาการในบทบาทของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้นในเด็กและเยาวชนในอนาคตดั้งนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลโคกโพธิ์จึงร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกโพธิ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด โรงเรียนในพื้นที่จึงจัดทำโครงการป้องการการตังครรภ์ก่อนวัยอันควร ประจำปี ๒๕๖๘ ขึ้น เพื่อเป็นการเสริมสร้าง ค่านิยมใหม่ให้กับ วัยรุ่นไทย ให้รู้จัก และเห็นคุณค่าของตัวเอง เป็นการป้องกันและแก้ไข้ปัญหาโรคที่มาจากเพศสัมพันธ์และการตังครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นให้ลดน้อยลงและวัยรุ่น และให้เยาวชนได้ซึมซับเรื่องหลักศาสนาอิสลามเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตที่ถูกต้องห่างไกลปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและนำหลักคำสอน ดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กและเยาวชนทั่วไปมีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
2.เด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลโคกโพธิ์ห่งไกลจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และลดจำนวนการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
3.เด็กและเยาวชนในพื้นที่ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตังครรภ์ก่อนวัยอันควร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและนำหลักคำสอน ดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและนำหลักคำสอน ดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L2975
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายฉลอง สุวรรณลิวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายฉลอง สุวรรณลิวงศ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L2975 เลขที่ข้อตกลง 56/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L2975 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลกรมอนามัยรายงานการคลอดในประเทศไทย พบว่าในปี๒๕๕๙ มีจำนวนเด็กที่คลอดจากแม่วัยรุ่นอายุ ๑๐-๑๙ ปี คิดเป็นร้อยละ๑๕ ของการคลอดทั้งหมด สูงเป็นอันดับ ๒ ในภูมิภาคอาเซียน คิดเป็น ๑๓ เท่าของสิงคโปร์ สืบเนื่องจากส่วนใหญ่เยาวชนไม่มีความรู้เรื่องการคุมกำเนิด ขาดทักษะชีวิต ไม่รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจของตนเอง และสาเหตุที่สำคัญที่สุดคือความเจริญของเทคโนโลยี สื่อที่ทันสมัย ที่เอื้อต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ประกอบกับระบบขัดเกลาทางสังคมระดับครอบครัวอ่อนศักยภาพลง เพราะ พ่อแม่ผู้ปกครองต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ในการประกอบอาชีพ และคาดหวังว่าระบบการขัดเกลาของสถาบันการศึกษาสามารถทำหน้าที่ทดแทนครอบครัวได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ครอบครัวยังคงมีบทบาทสำคัญที่ต้องดูแลและขัดเกลา บุตรหลาน และปัญหาดังกล่าวยังเป็นเรื่องที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันหาแนวทางป้องกันและแก้ไข ปัจจุบันพบว่าเด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและความรับผิดชอบของ ตัวเอง ดังนั้นจึงมีความเสี่ยงด้านต่างๆ เช่น เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (HIV)การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง มีน้ำหนักเด็กแรกเกิดต่ำกว่า๒,๕๐๐ กรัม และยังมีผลต่อการออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมทั้งการไม่พร้อมต่อการเลี้ยงลูก กระทำความรุนแรงในครอบครัว เป็นแรงงานราคาถูก ครอบครัวแตกแยก และยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่นๆตามมาอีกมากมายนับวันจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีของการสื่อสารที่ทันสมัย ทำให้กลุ่มเด็กและเยาวชนใช้สื่อ ดังกล่าวในทางที่ไม่ถูกต้อง เป็นเหตุให้มีแนวโน้มที่จะประสบปัญหาดังกล่าวมากขึ้น ประกอบกับเยาวชนส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาแค่ระดับมัธยมตอนต้นไม่ศึกษาต่อ และออกมาประกอบอาชีพ เช่น ลูกจ้าง เกษตรกรรม และทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน ทำให้ขาดความรู้ ความเข้าใจในหลักการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง ทั้งยังไม่สามารถยับยั้งการกระทำที่ขัดกับหลักศาสนา ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่จะปูแนวทางหรือกำหนดชีวิตคนเราให้รู้จักผิดชอบ ชั่วดีได้ จากสถานการณ์ดังกล่าว จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งการดำเนินงานแบบบูรณาการในบทบาทของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้นในเด็กและเยาวชนในอนาคตดั้งนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลโคกโพธิ์จึงร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกโพธิ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด โรงเรียนในพื้นที่จึงจัดทำโครงการป้องการการตังครรภ์ก่อนวัยอันควร ประจำปี ๒๕๖๘ ขึ้น เพื่อเป็นการเสริมสร้าง ค่านิยมใหม่ให้กับ วัยรุ่นไทย ให้รู้จัก และเห็นคุณค่าของตัวเอง เป็นการป้องกันและแก้ไข้ปัญหาโรคที่มาจากเพศสัมพันธ์และการตังครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นให้ลดน้อยลงและวัยรุ่น และให้เยาวชนได้ซึมซับเรื่องหลักศาสนาอิสลามเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตที่ถูกต้องห่างไกลปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและนำหลักคำสอน ดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กและเยาวชนทั่วไปมีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 2.เด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลโคกโพธิ์ห่งไกลจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และลดจำนวนการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 3.เด็กและเยาวชนในพื้นที่ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและนำหลักคำสอนดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตังครรภ์ก่อนวัยอันควร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและนำหลักคำสอน ดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและป้องกันโรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส เป็นต้น ฯลฯ 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องหลักคำสอนของศาสนาอิสลามและนำหลักคำสอน ดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กรุ่นใหม่ ห่างไกลท้องวัยเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามยอด ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ L2975
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายฉลอง สุวรรณลิวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......