โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 ”
ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นผลิตภัณฑ์ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตมีวัตถุประสงค์การใช้เพื่อสุขภาพอนามัย ได้แก่ ยา , อาหาร , เครื่องสำอาง , วัตถุอันตราย , เครื่องมือแพทย์ และวัตถุยาเสพติด ปัจจุบันช่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์มีหลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นร้านค้า ออนไลน์ ซึ่งพบสารพัดปัญหาที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์อาหาร โฆษณาเป็นยา รักษาสารพัดโรค , เครื่องสำอาง โฆษณาเป็นยาลดไขมัน เพิ่มขนาดทรวงอก ทำให้ผู้บริโภคหลงเชื่อโฆษณาจนได้รับอันตรายจากสารห้ามใช้หรือยาที่ลักลอบใส่และก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมได้
เด็กวัยเรียน school age children คือเด็กช่วงวัยอายุ 6-12 ปี เรียนอยู่ในช่วงชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่อยู่ในยุคแห่งความเร่งรีบอย่างสังคมปัจจุบัน ที่เด็กวัยเรียน และคนรอบตัวเด็กมีสิ่งต่างๆ เช่น หนังสือ สื่อออนไลน์ โทรศัพท์ไร้สาย เกมออนไลน์ ทำให้เด็กเรียนรู้ข้อมูลทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องในเวลาเดียวกัน อันจะนำมาสู่การเชื่อและทดลองใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆที่ไม่ปลอดภัยได้ ดังนั้น การพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้องให้แก่เด็กกลุ่มนี้ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เด็กได้เปิดการเรียนรู้ มีภูมิรู้ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง(Rational Drug Use) สามารถบอกต่อแก่คนในครอบครัวและชุมชน ทำให้เกิดการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัยได้ บริบทโรงเรียนยังมีห้องปฐมพยาบาลที่ยังขาดการติดตามมาตรฐานด้านต่างๆ โดยเฉพาะยาที่ใช้เพื่อบรรเทาเมื่อเด็กมีอาการเจ็บป่วย จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจ เท่าทัน ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (RDU school) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในวัยนี้ และดูแลห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่นักเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในชุมชน
- เพื่อค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมภูมิพยาบาล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงให้ความรู้ครูอนามัยโรงเรียนและครูผู้ดูแลเด็ก พร้อมพัฒนาห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ติดตามผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนรับรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการใช้ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย พร้อมทั้งสามารถกระจายความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชนได้
- ห้องปฐมพยาบาลได้รับการพัฒนา ที่มีมาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ เรื่องยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
2
เพื่อค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมภูมิพยาบาล
ตัวชี้วัด : ห้องปฐมพยาบาล ผ่านเกณฑ์มารตฐานที่กำหนด
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในชุมชน (2) เพื่อค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมภูมิพยาบาล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงให้ความรู้ครูอนามัยโรงเรียนและครูผู้ดูแลเด็ก พร้อมพัฒนาห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน (2) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน (3) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (4) ติดตามผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 ”
ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 06/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นผลิตภัณฑ์ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตมีวัตถุประสงค์การใช้เพื่อสุขภาพอนามัย ได้แก่ ยา , อาหาร , เครื่องสำอาง , วัตถุอันตราย , เครื่องมือแพทย์ และวัตถุยาเสพติด ปัจจุบันช่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์มีหลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นร้านค้า ออนไลน์ ซึ่งพบสารพัดปัญหาที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์อาหาร โฆษณาเป็นยา รักษาสารพัดโรค , เครื่องสำอาง โฆษณาเป็นยาลดไขมัน เพิ่มขนาดทรวงอก ทำให้ผู้บริโภคหลงเชื่อโฆษณาจนได้รับอันตรายจากสารห้ามใช้หรือยาที่ลักลอบใส่และก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมได้
เด็กวัยเรียน school age children คือเด็กช่วงวัยอายุ 6-12 ปี เรียนอยู่ในช่วงชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่อยู่ในยุคแห่งความเร่งรีบอย่างสังคมปัจจุบัน ที่เด็กวัยเรียน และคนรอบตัวเด็กมีสิ่งต่างๆ เช่น หนังสือ สื่อออนไลน์ โทรศัพท์ไร้สาย เกมออนไลน์ ทำให้เด็กเรียนรู้ข้อมูลทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องในเวลาเดียวกัน อันจะนำมาสู่การเชื่อและทดลองใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆที่ไม่ปลอดภัยได้ ดังนั้น การพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้องให้แก่เด็กกลุ่มนี้ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เด็กได้เปิดการเรียนรู้ มีภูมิรู้ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง(Rational Drug Use) สามารถบอกต่อแก่คนในครอบครัวและชุมชน ทำให้เกิดการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัยได้ บริบทโรงเรียนยังมีห้องปฐมพยาบาลที่ยังขาดการติดตามมาตรฐานด้านต่างๆ โดยเฉพาะยาที่ใช้เพื่อบรรเทาเมื่อเด็กมีอาการเจ็บป่วย จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นจึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการวัยรุ่น วัยใส ใส่ใจ เท่าทัน ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (RDU school) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในวัยนี้ และดูแลห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่นักเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในชุมชน
- เพื่อค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมภูมิพยาบาล
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงให้ความรู้ครูอนามัยโรงเรียนและครูผู้ดูแลเด็ก พร้อมพัฒนาห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ติดตามผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนรับรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการใช้ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย พร้อมทั้งสามารถกระจายความรู้ให้กับครอบครัวและชุมชนได้
- ห้องปฐมพยาบาลได้รับการพัฒนา ที่มีมาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ เรื่องยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ |
|
|||
2 | เพื่อค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมภูมิพยาบาล ตัวชี้วัด : ห้องปฐมพยาบาล ผ่านเกณฑ์มารตฐานที่กำหนด |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในชุมชน (2) เพื่อค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมภูมิพยาบาล
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงให้ความรู้ครูอนามัยโรงเรียนและครูผู้ดูแลเด็ก พร้อมพัฒนาห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน (2) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน (3) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (4) ติดตามผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชนเขตเทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......