ส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลานข่อย(มาดนั่ง) ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | ส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลานข่อย(มาดนั่ง) ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3348-2-10 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม.รพ.สต.ในนิคมฯบ้านลานข่อย |
วันที่อนุมัติ | 12 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 8,320.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวกันยา เคราแก้ว |
พี่เลี้ยงโครงการ | สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลลานข่อย |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.831,99.78place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในเด็กเล็กหรือเด็กปฐมวัยในช่วงอายุ ๒-๕ ปี เมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกันและปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้น นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้วยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันน้ำนมขึ้นครบ ๒๐ ซี่แล้ว ลักษณะรูปร่างฟันที่ใช้เคี้ยวอาหารมีหลุมร่องลึกในฟันกรามทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวาน ตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่าย หากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอ โรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพหากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่เด็กปฐมวัย การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรค จะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้ การดำเนินการแก้ปัญหาทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เนื่องจากเด็กปฐมวัยยังไม่ค่อยให้ความสำคัญกับสุขภาพช่องปากและยที่กินตลอดเวลา โดยเฉพาะของหวานต่างๆ และแปรงฟันไม่ถูกวิธี อย่างไรก็ตามถ้าให้ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไม่สามารถดูแลสุขภาพช่องปากยตนเองได้ ผู้ปกครองต้องช่วยในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ทั้งผู้ปกครองและเด็กต้องมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ก็ช่วยส่งเสริมการแปรงฟันที่ถูกต้องและช่วยแก้ปัญหาปัญหาผุในเด็กปฐมวัยได้ ดังนั้น ชมรม อสม.และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในนิคมฯบ้วนลานข่อย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพช่องเด็กปฐมวัย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ ศพด.ได้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน เด็กใน ศพด. มีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 100 |
||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี ผู้ปกครองมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีและสามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้ ร้อยละ 80 |
||
3 | เพื่อให้เด็ก ศพด.ได้รับการบริการทันตกรรมตามความจำเป็น เด็ก ศพด.ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็นร้อยละ 80 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.ศพด.มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ทุกวัน 2.เด็ก ศพด.ได้รับอาหารว่างที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพฟันสัปดาห์ละ 3-5 วัน
3.เด็ก ศพด.ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็นร้อยละ 80
4.ผู้ปกครองตระหนักเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 เม.ย. 2568 10:27 น.