โครงการอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2519-1-2 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา |
วันที่อนุมัติ | 27 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 14,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอามิง เจ๊ะปอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.906,101.912place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 3 ต.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2568 | 14,500.00 | |||
รวมงบประมาณ | 14,500.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 90 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและโรคติดต่อจากสเหตุอื่นๆนั้น นับว่าเป็นปัญหาสาธารณะสุขที่สำคัญในระดับประเทศและจากภาวะโรคร้อน อากาศแปรปรวน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรงติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคไข้เลือดออก และโรคติดต่ออื่น ๆ ซึ่งพบว่าอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกปี 2565 2566 และปี 2567 ร้อยละ 216.12 0 และ ร้อยละ 227.06 ต่อแสนประชากร ซึ่งพบว่าอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องดังนั้น ปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดำเสา จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อม ครบถ้วนของการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรคและส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ ต่อไปจึงได้เสนอเพื่อจัดทำโครงการนี้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละของอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลิอดออกลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี มากกว่าร้อยละ 20 ต่อแสนประชากร |
||
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและวิธีป้องกัน ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกอยู่ในระดับปานกลางและสูงมากกว่าร้อยละ 8 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. นำเสนอแผนงานต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมอเลาะ 2. จัดทำโครงการ เสนอต่อประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมอเลาะ 3. ประสานงาน วิทยากร 4. กำหนดวันและเวลาที่จะดำเนินการ 5. ดำเนินการตามโครงการที่วางไว้ ร่วมกับหน่วยงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง 6. สรุปผลการดำเนินโครงการ และนำเสนอผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฆอเลาะ กลวิธี ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การป้องกันโรคไข้เลือดออก การสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายที่ถูกต้องแก่ประชาชน อาสมัครสาธารณสุข และผู้นำชุมชน กิจกรรม 1. ขั้นเตรียมการ 1.1. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา 1.2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 1.3. กำหนดวันเวลาที่จะดำเนินโครงการ 2. ขั้นดำเนินการ 2.1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่ประชาชน ม.2 ม.5 และ ม.6 3. ขั้นหลังดำเนินการ 3.1 ติดตามค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI BI และ Ci ในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และหมู่บ้านหากมีค่าเกินกว่าค่ามาตรฐานต้อง ร่วมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย 3.2 ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น 3.3 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
- ดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI BI และ CI น้อยกว่าร้อยละ 10 ค่า BI น้อยกว่าร้อยละ 50
- ประชาชนมีความเข้าใจ และมีความตระหนักในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 2568 14:26 น.