โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุรีดา สาและ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3037-01-02 เลขที่ข้อตกลง 002/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3037-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมสุขภาพและช่วยป้องกันการเกิดโรคในเด็ก 0 - 5 ปี ทั้งนี้การส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีน เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ช่วยให้งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อประสบความสำเร็จ นอกจากนี้ยังสามารถลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ และภาระค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดจากการดูแลรักษาเด็กที่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนปัจจุบันแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ได้กำหนดให้เด็ก 0 - 5 ปี เข้ารับวัคซีนตามเกณฑ์อายุจำนวน 13 โรค ได้แก่วัคซีนป้องกันวัณโรค ตับอักเสบบี คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ฮิบ โปลิโอ โรต้า ไข้หวัดใหญ่ หัด คางทูม หัดเยอรมัน ไข้สมองอักเสบเจอี และแม้ว่าจะมีการส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีเข้ารับวัคซีนในสถานบริการสาธารณสุขโดยไม่มีค่าใช้จ่าย แต่ยังพบว่าความครอบคลุมของวัคซีนทุกชนิดในเด็กเมื่ออายุครบ 5 ปีของจังหวัดปัตตานี ในปี 2565 โดยภาพรวมมีเพียงร้อยละ 37.41ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 90
พื้นที่ตำบลจะรัง อยู่ภายใต้การดูแลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะรัง มีประชากรในเขตรับผิดชอบจำนวน 4,923 คน มีประชากรเด็กอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 302 คน จากการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2565 -2567 ซึ่งมีแนวโน้มลดลงจากปีที่ผ่านมา ซึ่งอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ (fully immunized) จำแนกตามอายุครบ 1 ปี ร้อยละ 36, 70.45, และ 45.07 ตามลำดับ อายุครบ 2 ปี ร้อยละ 37.33, 31.17 และ 53.06 ตามลำดับ อายุครบ 3 ปี ร้อยละ 33.33, 42.25, 27.85 และ 22.37 ตามลำดับ อายุครบ 5 ปี ร้อยละ 32.47,23.17 และ 27.91 ตามลำดับ ซึ่งสาเหตุของการไม่รับหรือรับวัคซีนไม่ครอบคลุม ได้แก่ ผู้ปกครองไม่สะดวกรับบริการวัคซีน เด็กป่วยตรงกับวันที่รับวัคซีน ปัญหาการเดินทางมารับวัคซีนเนื่องจากผู้ดูแลหลักเป็นผู้สูงอายุและไม่มีพาหนะใช้ในการเดินทาง วันที่ให้บริการวัคซีนไม่ตรงกับเวลาว่างของผู้ปกครอง ผู้ปกครองได้รับข้อมูลเกี่ยวกับวัคซีนที่ไม่ถูกต้องส่งผลให้ขาดความเชื่อมั่นเรื่องความปลอดภัยหลังจากได้รับวัคซีน รวมทั้งความเชื่อทางศาสนาในเรื่องของวัคซีนไม่ฮาลาล ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวได้จากการสอบถามผู้รับบริการโดยตรงและอาสามสมัครสาธารณสุขในพื้นที่
จากสาเหตุปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะรัง จึงได้จัดทำโครงการโครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 ในพื้นที่ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี โดยจะดำเนินในรูปแบบการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในรูปการณ์ของโครงการเชิงผลลัพธ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก
- 2.เพื่อให้เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณ์พื้นฐาน
- 3.เพื่อให้เกิดแกนนำเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำ จำนวน 2 ครั้ง
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม จำนวน 72 คน
- กิจกรรมที่ 3 ประชาสัมพันธ์สร้างสร้างการรับรู้แก่ชุมชน
- กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมบ้านร่วมกับอสม
- กิจกรรมที่ 4 การอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
- กิจกรรมที่ 5 ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบของแต่ละชุมชนรายละเอียดกิจกรรม
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม จำนวน 72 คน
- การอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
- กิจกรรมที่1 การประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำ
- ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบของแต่ละชุมชน
- ประชาสัมพันธ์สร้างสร้างการรับรู้แก่ชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีแกนนำส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี
2.ประชาชนรับรู้ เข้าใจถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก
3.ผู้ปกครองมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก
4.เด็กอายุ 0 - 5 ปี รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 60
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ร้อยละ 80
80.00
2
2.เพื่อให้เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณ์พื้นฐาน
ตัวชี้วัด : 2.เพื่อให้เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณ์พื้นฐาน ร้อยละ 60
60.00
3
3.เพื่อให้เกิดแกนนำเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.เพื่อให้เกิดแกนนำเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน ร้อยละ 90
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก (2) 2.เพื่อให้เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณ์พื้นฐาน (3) 3.เพื่อให้เกิดแกนนำเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำ จำนวน 2 ครั้ง (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม จำนวน 72 คน (3) กิจกรรมที่ 3 ประชาสัมพันธ์สร้างสร้างการรับรู้แก่ชุมชน (4) กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมบ้านร่วมกับอสม (5) กิจกรรมที่ 4 การอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (6) กิจกรรมที่ 5 ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบของแต่ละชุมชนรายละเอียดกิจกรรม (7) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม จำนวน 72 คน (8) การอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (9) กิจกรรมที่1 การประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำ (10) ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบของแต่ละชุมชน (11) ประชาสัมพันธ์สร้างสร้างการรับรู้แก่ชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3037-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุรีดา สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุรีดา สาและ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3037-01-02 เลขที่ข้อตกลง 002/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3037-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมสุขภาพและช่วยป้องกันการเกิดโรคในเด็ก 0 - 5 ปี ทั้งนี้การส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีน เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ช่วยให้งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อประสบความสำเร็จ นอกจากนี้ยังสามารถลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ และภาระค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดจากการดูแลรักษาเด็กที่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนปัจจุบันแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ได้กำหนดให้เด็ก 0 - 5 ปี เข้ารับวัคซีนตามเกณฑ์อายุจำนวน 13 โรค ได้แก่วัคซีนป้องกันวัณโรค ตับอักเสบบี คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ฮิบ โปลิโอ โรต้า ไข้หวัดใหญ่ หัด คางทูม หัดเยอรมัน ไข้สมองอักเสบเจอี และแม้ว่าจะมีการส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีเข้ารับวัคซีนในสถานบริการสาธารณสุขโดยไม่มีค่าใช้จ่าย แต่ยังพบว่าความครอบคลุมของวัคซีนทุกชนิดในเด็กเมื่ออายุครบ 5 ปีของจังหวัดปัตตานี ในปี 2565 โดยภาพรวมมีเพียงร้อยละ 37.41ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 90 พื้นที่ตำบลจะรัง อยู่ภายใต้การดูแลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะรัง มีประชากรในเขตรับผิดชอบจำนวน 4,923 คน มีประชากรเด็กอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 302 คน จากการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2565 -2567 ซึ่งมีแนวโน้มลดลงจากปีที่ผ่านมา ซึ่งอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ (fully immunized) จำแนกตามอายุครบ 1 ปี ร้อยละ 36, 70.45, และ 45.07 ตามลำดับ อายุครบ 2 ปี ร้อยละ 37.33, 31.17 และ 53.06 ตามลำดับ อายุครบ 3 ปี ร้อยละ 33.33, 42.25, 27.85 และ 22.37 ตามลำดับ อายุครบ 5 ปี ร้อยละ 32.47,23.17 และ 27.91 ตามลำดับ ซึ่งสาเหตุของการไม่รับหรือรับวัคซีนไม่ครอบคลุม ได้แก่ ผู้ปกครองไม่สะดวกรับบริการวัคซีน เด็กป่วยตรงกับวันที่รับวัคซีน ปัญหาการเดินทางมารับวัคซีนเนื่องจากผู้ดูแลหลักเป็นผู้สูงอายุและไม่มีพาหนะใช้ในการเดินทาง วันที่ให้บริการวัคซีนไม่ตรงกับเวลาว่างของผู้ปกครอง ผู้ปกครองได้รับข้อมูลเกี่ยวกับวัคซีนที่ไม่ถูกต้องส่งผลให้ขาดความเชื่อมั่นเรื่องความปลอดภัยหลังจากได้รับวัคซีน รวมทั้งความเชื่อทางศาสนาในเรื่องของวัคซีนไม่ฮาลาล ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวได้จากการสอบถามผู้รับบริการโดยตรงและอาสามสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ จากสาเหตุปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะรัง จึงได้จัดทำโครงการโครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 ในพื้นที่ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี โดยจะดำเนินในรูปแบบการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในรูปการณ์ของโครงการเชิงผลลัพธ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก
- 2.เพื่อให้เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณ์พื้นฐาน
- 3.เพื่อให้เกิดแกนนำเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำ จำนวน 2 ครั้ง
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม จำนวน 72 คน
- กิจกรรมที่ 3 ประชาสัมพันธ์สร้างสร้างการรับรู้แก่ชุมชน
- กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมบ้านร่วมกับอสม
- กิจกรรมที่ 4 การอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
- กิจกรรมที่ 5 ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบของแต่ละชุมชนรายละเอียดกิจกรรม
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม จำนวน 72 คน
- การอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
- กิจกรรมที่1 การประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำ
- ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบของแต่ละชุมชน
- ประชาสัมพันธ์สร้างสร้างการรับรู้แก่ชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 70 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีแกนนำส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี 2.ประชาชนรับรู้ เข้าใจถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 3.ผู้ปกครองมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 4.เด็กอายุ 0 - 5 ปี รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 60
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ร้อยละ 80 |
80.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณ์พื้นฐาน ตัวชี้วัด : 2.เพื่อให้เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณ์พื้นฐาน ร้อยละ 60 |
60.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้เกิดแกนนำเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน ตัวชี้วัด : 3.เพื่อให้เกิดแกนนำเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน ร้อยละ 90 |
90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 70 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก และคนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก (2) 2.เพื่อให้เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณ์พื้นฐาน (3) 3.เพื่อให้เกิดแกนนำเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปีในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำ จำนวน 2 ครั้ง (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม จำนวน 72 คน (3) กิจกรรมที่ 3 ประชาสัมพันธ์สร้างสร้างการรับรู้แก่ชุมชน (4) กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมบ้านร่วมกับอสม (5) กิจกรรมที่ 4 การอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (6) กิจกรรมที่ 5 ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบของแต่ละชุมชนรายละเอียดกิจกรรม (7) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการสื่อสารเรื่องวัคซีนแก่ อสม จำนวน 72 คน (8) การอบรมให้ความรู้และเสริมทักษะผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (9) กิจกรรมที่1 การประชุมคณะทำงานร่วมกับแกนนำ (10) ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบและครอบครัวปลอดโรคต้นแบบของแต่ละชุมชน (11) ประชาสัมพันธ์สร้างสร้างการรับรู้แก่ชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมเพิ่มความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนพื้นฐานสำหรับเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3037-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุรีดา สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......