โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3037-01-05 เลขที่ข้อตกลง 005/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3037-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเข้าสุนัต เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่มุสลิมทุกคนต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และการเข้าสู่พิธีเข้าสุนัตนิยมทำในวัยเด็ก เพื่อความสะอาดของร่างกาย และเพื่อปลูกฝังศีลธรรมตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลามซึ่งเป็นพิธีกรรมทางศาสนาที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของการเริ่มต้นชีวิตของมุสลิม การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) คือ การผ่าตัดเพื่อเอาหนังหุ้มปลายของอวัยวะเพศชาย (ส่วนเกิน) ออกไป เพื่อให้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเปิดทำให้ง่ายต่อการทำความสะอาด สามารถล้างสิ่งสกปรกจากสารคัดหลั่ง เช่น คราบเหงื่อ คราบปัสสาวะที่หมักหมม อยู่ตามบริเวณใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะซึ่งเป็นศูนย์รวมของเชื้อโรค สามารถทำได้ตั้งแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึงวัยสูงอายุการขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชายของมุสลิมเป็นการปฏิบัติตามแนวทางของอิสลาม และตามแบบอย่าง ของท่านนบีอิรอฮีม และบัญญัติของพระเจ้า (อัลลอฮฺ) ถือเป็นการเอาใจใส่ดูแลสุขอนามัยและการทำให้บริสุทธิ์ เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมุสลิมชายทุกคนถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดซึ่งนิยมทำในวัยเด็กเพื่อความสะอาดของร่างกาย ปัจจุบันการขลิบโดยโต๊ะมูเด็งยังคงมีอยู่โดยเฉพาะในชนบทยังนิยมแบบดั้งเดิมเนื่องจากมีความเชื่อมั่นในโต๊ะมูเด็งซึ่งมีประสบการณ์ แต่ความนิยมลดลงเนื่องจากการแพทย์สมัยใหม่สามารถเข้าถึงง่ายมีการใช้เครื่องมือที่สะอาดและวิธีการที่ปลอดภัยมากขึ้น การขลิบสมัยใหม่ มีทางเลือกมากมาย เช่น การจัดเข้าสุนัขหมู่ซึ่งดำเนินการโดยกลุ่มบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับการฝึกฝนจนชำนาญ การขลิบที่คลินิก และการจัดเข้าสุนัตหมู่ในโรงพยาบาลโดยมีข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับการขริบปลายหุ้มอวัยวะเพศชายช่วยลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็กลดการ เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เกิดลดโรค HIV (Human Immunodeficiency Virus) ลดการเกิดโรคติดเชื้อองคชาติได้โดยมะเร็งองคชาติลดลงจากการลดลงของการอักเสบที่ปลายหุ้มอวัยวะเพศชาย
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง ได้เห็นความสำคัญและจัดให้มีโครงการสุนัตหมู่ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระของผู้ปกครองมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคตลอดจนปลูกฝังศีลธรรม สนับสนุนเด็กให้ดำรงอยู่ในแนวทางการปฏิบัติด้านความสะอาดของร่างกาย ซึ่งเป็นการเริ่มต้นชีวิตในความเป็นมุสลิมของศาสนาอิสลามและเป็นความรู้พื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับอิสลามแก่ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ แนวความคิดหลักศรัทธาและปฏิบัติจนสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นตอนการวางแผน
- ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
14
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของศาสนาอิสลาม
2. ช่วยเหลือสนับสนุนเด็กให้ดำรงอยู่ในแนวทางการปฏิบัติของศาสนาอิสลาม
3. ช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองในการรักษาพยาบาลเด็กที่เข้าพิธีกรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
พื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กชายมุสลิม อายุ 7-12 ปี ที่ต้องการขลิบหนังหุ้มปลายได้รับบริการที่สามารถลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก
30.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
14
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
14
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนการวางแผน (2) ขั้นตอนการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3037-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3037-01-05 เลขที่ข้อตกลง 005/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3037-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเข้าสุนัต เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่มุสลิมทุกคนต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และการเข้าสู่พิธีเข้าสุนัตนิยมทำในวัยเด็ก เพื่อความสะอาดของร่างกาย และเพื่อปลูกฝังศีลธรรมตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลามซึ่งเป็นพิธีกรรมทางศาสนาที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของการเริ่มต้นชีวิตของมุสลิม การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) คือ การผ่าตัดเพื่อเอาหนังหุ้มปลายของอวัยวะเพศชาย (ส่วนเกิน) ออกไป เพื่อให้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเปิดทำให้ง่ายต่อการทำความสะอาด สามารถล้างสิ่งสกปรกจากสารคัดหลั่ง เช่น คราบเหงื่อ คราบปัสสาวะที่หมักหมม อยู่ตามบริเวณใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะซึ่งเป็นศูนย์รวมของเชื้อโรค สามารถทำได้ตั้งแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึงวัยสูงอายุการขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชายของมุสลิมเป็นการปฏิบัติตามแนวทางของอิสลาม และตามแบบอย่าง ของท่านนบีอิรอฮีม และบัญญัติของพระเจ้า (อัลลอฮฺ) ถือเป็นการเอาใจใส่ดูแลสุขอนามัยและการทำให้บริสุทธิ์ เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมุสลิมชายทุกคนถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดซึ่งนิยมทำในวัยเด็กเพื่อความสะอาดของร่างกาย ปัจจุบันการขลิบโดยโต๊ะมูเด็งยังคงมีอยู่โดยเฉพาะในชนบทยังนิยมแบบดั้งเดิมเนื่องจากมีความเชื่อมั่นในโต๊ะมูเด็งซึ่งมีประสบการณ์ แต่ความนิยมลดลงเนื่องจากการแพทย์สมัยใหม่สามารถเข้าถึงง่ายมีการใช้เครื่องมือที่สะอาดและวิธีการที่ปลอดภัยมากขึ้น การขลิบสมัยใหม่ มีทางเลือกมากมาย เช่น การจัดเข้าสุนัขหมู่ซึ่งดำเนินการโดยกลุ่มบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับการฝึกฝนจนชำนาญ การขลิบที่คลินิก และการจัดเข้าสุนัตหมู่ในโรงพยาบาลโดยมีข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับการขริบปลายหุ้มอวัยวะเพศชายช่วยลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็กลดการ เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เกิดลดโรค HIV (Human Immunodeficiency Virus) ลดการเกิดโรคติดเชื้อองคชาติได้โดยมะเร็งองคชาติลดลงจากการลดลงของการอักเสบที่ปลายหุ้มอวัยวะเพศชาย ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง ได้เห็นความสำคัญและจัดให้มีโครงการสุนัตหมู่ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัยและแบ่งเบาภาระของผู้ปกครองมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคตลอดจนปลูกฝังศีลธรรม สนับสนุนเด็กให้ดำรงอยู่ในแนวทางการปฏิบัติด้านความสะอาดของร่างกาย ซึ่งเป็นการเริ่มต้นชีวิตในความเป็นมุสลิมของศาสนาอิสลามและเป็นความรู้พื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับอิสลามแก่ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ แนวความคิดหลักศรัทธาและปฏิบัติจนสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นตอนการวางแผน
- ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 14 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของศาสนาอิสลาม 2. ช่วยเหลือสนับสนุนเด็กให้ดำรงอยู่ในแนวทางการปฏิบัติของศาสนาอิสลาม 3. ช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองในการรักษาพยาบาลเด็กที่เข้าพิธีกรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | พื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กชายมุสลิม อายุ 7-12 ปี ที่ต้องการขลิบหนังหุ้มปลายได้รับบริการที่สามารถลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก |
30.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 14 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 14 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนการวางแผน (2) ขั้นตอนการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเข้าสุนัตหมู่ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3037-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลจะรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......