กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ และหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ปี 2568 ”
ตำบลบ้านใหม่ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายประโยชน์ ช่วยจุลจิตร




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ และหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลบ้านใหม่ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5223-1-06 เลขที่ข้อตกลง 9/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ และหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ และหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ และหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านใหม่ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5223-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถิติผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีจำนวนสูงมากขึ้น ซึ่งจัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย หากประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้เป็นผู้ป่วย เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ นำไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขึ้นมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น 3-4 เท่าและโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น 3-8 เท่า และผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับน้ำตาล ต่ำกว่าปกติมีโอกาสเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น ขณะที่รายที่มีระดับน้ำตาลสูงกว่าปกติมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะต่างๆ ของร่างกายเพิ่มขึ้น อาทิ ความเสื่อมสภาพของหลอดเลือดสมอง หัวใจ ตา ไต และเท้าเป็นต้น ซึ่งภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวข้างต้นนำไปสู่การสิ้นเปลืองด้านทรัพยากร งบประมาณ อุปกรณ์ ตลอดจนเวชภัณฑ์ต่างๆ ในการรักษาและการจัดการกับภาวะแทรกซ้อนต่างๆ การลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวจะต้องควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์เป้าหมายสำหรับกลุ่มป่วยดังกล่าว และเข้าถึงการคัดกรองภาวะสุขภาพและภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐานตั้งแต่ยังไม่ป่วย ผลการคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ ม.4 - 8 ตำบลบ้านใหม่ ปี 2568 พบว่า มีประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีระดับน้ำตาลในเลือดผิดปกติ และมีค่าความดันโลหิตสูงกว่าปกติ (หลังจากคัดกรองซ้ำ) จำนวน 10 คน ร้อยละ 01.00 และมีความดันโลหิตสูง 72 คน ร้อยละ 07.20 ตามลำดับ ซึ่งอัตราป่วยต่อแสนประชากรของผู้ป่วยรายใหม่ในปี2566 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 2 รายและความดันโลหิตสูงรายใหม่ 2 ราย ซึ่งเป็นเกณฑ์ดีสำหรับประชาชน ซึ่งเกิดจากการที่ประชนได้มีการการคัดกรองโรคความดันเบาหวาน การให้ความรู้และการเฝ้าระวังโรคอย่าง ต่อเนื่องทุกปี ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนและผู้ป่วยมีความรู้และมีความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและเข้าถึงการรับบริการตามสิทธิประโยชน์ โรงพยาบาลส่งเสริสุขภาพตำบลผักกูด จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อ ปี2568 โดยมุ่งเน้นส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตอง โดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-5 วัน วันละ 30 นาที ร่วมกับกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป ลดอาหารไขมัน และมีส่วนร่วมในการจัด ปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง อันจะนำไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรควิถีชีวิตและส่งผลให้ประชาชนมีการสร้างสุขภาพที่ยั่งยืนและมีสุขภาพแข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยดรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชนกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจและดูแลตนเองในการป้องกันโรคเบาหวาน 3.เพื่อสร้างพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพตนเอง/ลดสภาวะการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด 4.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับรับประทานผัก ผลไม้สด วันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัม และลดอาหารไขมัน อาหารรสเค็ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 95 ได้รับการคัดกรองตรวจวัดความดันโลหิตและตรวจหาน้ำตาลในกระแสเลือด (DTX ปลายนิ้วมือ) 2.ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ 3.ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยดรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชนกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจและดูแลตนเองในการป้องกันโรคเบาหวาน 3.เพื่อสร้างพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพตนเอง/ลดสภาวะการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด 4.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับรับประทานผัก ผลไม้สด วันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัม และลดอาหารไขมัน อาหารรสเค็ม
    ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดร้อยละ 95 2.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 50 3.ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงไม่เกินร้อยละ 4 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงไม่เกินร้อยละ 8 4.ประชาชนอายุ 35 ปี ในหมู่บ้านปรับเปลี่ยน มีพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมรับประทานผัก ผลไม้สด วันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัม และลดอาหารไขมัน อาหารรสเค็ม ร้อยละ 50

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยดรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชนกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจและดูแลตนเองในการป้องกันโรคเบาหวาน 3.เพื่อสร้างพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพตนเอง/ลดสภาวะการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด 4.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วัน วันละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับรับประทานผัก ผลไม้สด วันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัม และลดอาหารไขมัน อาหารรสเค็ม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ และหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ปี 2568 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 68-L5223-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประโยชน์ ช่วยจุลจิตร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด