กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตำบลท่าแพ ประจำปี 2568 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสาววนิดา ใบกาเด็ม




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตำบลท่าแพ ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5287-1-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 เมษายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตำบลท่าแพ ประจำปี 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตำบลท่าแพ ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตำบลท่าแพ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5287-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 เมษายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 69,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย คือการทำความสะอาดร่างกายที่ต้องตัดแต่งเพื่อขจัดความสกปรก จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ HIV ได้ร้อยละ 50-60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า Smegma หรือขี้เปียก นอกจากนี้การขลิบหนังปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารก ก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กอีกด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากข้อมูลทางการแพทย์พบว่าบริเวณหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของผู้ชาย เป็นจุดรวมของเชื้อโรคเป็นจำนวนมาก เพราะไม่สามารถล้างทำความสะอาดได้อย่างทั่วถึง จึงมักจะเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ มากมาย เช่น กามโรค การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะและภาวะหนังหุ้มปลายองคชาตตีบ (Phimosis) ซึ่งก็เป็นอันตรายไม่น้อย ดังสถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประเทศไทย ในภาพรวมประเทศ พ.ศ. 2560 - 2564 จากข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังโรค รง.506 สํานักระบาดวิทยา พบว่า อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 5 โรค (ได้แก่โรคหนองใน โรคหนองในเทียม โรคซิฟิลิส โรคแผลริมอ่อน โรคกามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง) มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นตามลําดับ 51.35, 57.37 และ 72.42 ต่อประชากรแสนคน และพบว่าในแต่ละปีแนวโน้มพบผู้ป่วยอายุน้อยลงเรื่อยๆ ถือเป็นตัวสะท้อนที่แสดงให้เห็นถึงการมีเพศสัมพันธ์อย่างไม่ปลอดภัย อีกทั้งยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ดังนั้นทางการแพทย์จึงสนับสนุนให้มีการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของผู้ชายตั้งแต่วัยเด็ก เพราะจะทำให้สามารถดูแลและทำความสะอาดอวัยวะเพศได้ง่ายขึ้น สะอาดมากขึ้นและลดโอกาสการเป็นโรคร้ายได้สูงมากทีเดียว ดังเช่นการศึกษาวิจัยยืนยันของนักวิจัยในสหรัฐอเมริกาพบว่าการขลิบอวัยวะเพศชายจะช่วยลดการติดเชื้อไวรัส HIV ได้ 60 เปอร์เซ็นต์ ในตำบลท่าแพ มีประชากรส่วนใหญ่ที่นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็นเปอร์เซ็นได้ 99.7 เปอร์เซ็น นับถือพุทธศาสนา คิดเป็น 0.3 เปอร์เซ็น ซึงในทัศนะของอิสลามนั้น การขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชายเป็นการเอาใจใส่ดูแลสุขอนามัยและการทำให้บริสุทธิ์ การขลิบเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับผู้ชายทุกคน การขลิบปลายอวัยวะเพศของเด็กชาย เมื่อย่างเข้าวัยอันควร อายุระหว่าง 6 - 12 ปี โดยการตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของผู้ชายเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาความสะอาด หากหนังหุ้มนั้นยังปกคลุมอยู่ ส่วนวัตถุที่คล้ายเนยแข็งซึ่งขับถ่ายออกมาโดยผิวหนังของบริเวณปลายอวัยวะสืบพันธุ์จะหมักหมมอยู่ การขลิบเป็นการขจัดสิ่งนี้โดยวิธีที่ดีที่สุด อีกประการหนึ่งเพื่อป้องกันน้ำปัสสาวะค้างซึ่งเป็นสิ่งสกปรกมีกลิ่น ยากแก่การทำความสะอาด ในด้านการแพทย์ให้ความเห็นว่า เป็นมาตรการที่มีความสำคัญในทางสุขวิทยาเป็นอย่างมาก
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในกลุ่มเด็กในพื้นที่ตำบลท่าแพ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมสุขภาพการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการติดเชื้อจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีความรู้ ทักษะด้านการขลิบหนังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อ เพื่อให้เด็กได้รับบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
  2. 2 เพื่อลดภาวะเลือดออกมาจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
  3. 3. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจและสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคและการติดเชื้อ
  2. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  4. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กในพื้นที่ได้รับบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยะเพษชาย ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย
  2. สามารถลดภาวะเสี่ยง ต่อการติดเชื้อและภาวะออกเลือดมาก ภาวะแทรกซ้อน การอักเสบรุนแรง และการติดเชื้อรวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชน ในการป้องกันโรคติดเชื้อ
  3. เด็กชายและเยาวชได้รับการขลิบหนังหุ้ทปลายอวัยวะเพษชายอย่างถูกต้องปลอดภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
ตัวชี้วัด : อุบัติการณ์การติดเชื้อ ร้อยละ 0
0.00

 

2 2 เพื่อลดภาวะเลือดออกมาจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
ตัวชี้วัด : อุบัติการณ์ภาวะเลือดออกมาก ร้อยละ 0
0.00

 

3 3. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจและสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักมากขึ้น มีการดูแลสุขภาพและสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค ร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (2) 2 เพื่อลดภาวะเลือดออกมาจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (3) 3. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจและสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคและการติดเชื้อ (2) กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ตำบลท่าแพ ประจำปี 2568 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5287-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววนิดา ใบกาเด็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด