โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 ”
ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต.มะนังยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลของกรมอนามัย ได้คาดการณ์การมีภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุของประเทศไทยใน 20 ปีข้างหน้า โดยใช้ข้อมูลการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) จากฐานข้อมูล Blue Book ของสำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มาวิเคราะห์สัดส่วนการมีภาวะพึ่งพิง และพยากรณ์ภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุ ใน 20 ปีข้างหน้าของประเทศไทย สรุปดังนี้ สถานการณ์การมีภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุของประเทศไทย จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา พบว่า ในปี 2565 ถึง 2567 สัดส่วนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยทั้งในเพศชายและเพศหญิง โดยกลุ่มติดบ้าน เพศชายเพิ่มจากร้อยละ 2.2 เป็น 2.5 และเพศหญิงเพิ่มจากร้อยละ 3.2 เป็น 3.5 กลุ่มติดเตียง เพศชายเพิ่มจากร้อยละ 0.8 เป็น 0.9 และเพศหญิงเพิ่มจากร้อยละ 1.0 เป็น 1.2 ซึ่งสอดคล้องกับตำบลมะนังยง ที่มีผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียงที่เกิดจากโรคหลอดเลือดสมอง และจากผู้สูงอายุ เพิ่มมากขึ้น จากการดำเนินงานของทีมเยี่ยมบ้านพบว่าผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงส่วนใหญ่มีภาวะแทรกซ้อนด้านกล้ามเนื้อและข้อ ซึ่งช่วยเหลือตัวเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย มีอาการท้องผูกจากการที่ลำไส้ไม่เคลื่อนไหวเนื่องจากผู้ป่วยไม่ได้ขยับร่างกาย มีปัญหาแผลกดทับ ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อตามมา
ตำบลมะนังยงมีทีมเยี่ยมบ้านที่เป็นผู้ดูแลหลัก ได้แก่ Care Giver อาสาสมัครสาธารณสุข และญาติผู้ดูแลผู้ป่วย เพื่อให้การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจึงควรเพิ่มทักษะและความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาและต่อยอดให้การดูแลผู้ป่วยบรรลุผลยิ่งขึ้น เกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยลง และผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยเพิ่มทักษะด้านการดูแลดังนี้ การบริหารกล้ามเนื้อและข้อ การประคบสมุนไพร การนวดน้ำมันกระตุ้นสัมผัส การนวดกระตุ้นการกลืน การนวดกระตุ้นการขับถ่ายการดูแลแผลกดทับ และการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี
ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง จึงได้ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง จัดทำโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่ตำบลมะนังยง ประจำปี2568 ขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงให้แก่ผู้ดูแล ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนที่จะตามมาได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และเกิดทักษะในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชนตำบลมะนังยงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างเหมาะสม ลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมกลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง
- กิจกรรมดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน
- กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลหลังอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และเกิดทักษะในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 100 2.ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ร้อยละ 80
20.00
2
เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชนตำบลมะนังยงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างเหมาะสม ลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม ร้อยละ 100
15.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และเกิดทักษะในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชนตำบลมะนังยงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างเหมาะสม ลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมกลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง (2) กิจกรรมดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลหลังอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต.มะนังยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 ”
ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต.มะนังยง
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลของกรมอนามัย ได้คาดการณ์การมีภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุของประเทศไทยใน 20 ปีข้างหน้า โดยใช้ข้อมูลการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) จากฐานข้อมูล Blue Book ของสำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มาวิเคราะห์สัดส่วนการมีภาวะพึ่งพิง และพยากรณ์ภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุ ใน 20 ปีข้างหน้าของประเทศไทย สรุปดังนี้ สถานการณ์การมีภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุของประเทศไทย จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา พบว่า ในปี 2565 ถึง 2567 สัดส่วนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยทั้งในเพศชายและเพศหญิง โดยกลุ่มติดบ้าน เพศชายเพิ่มจากร้อยละ 2.2 เป็น 2.5 และเพศหญิงเพิ่มจากร้อยละ 3.2 เป็น 3.5 กลุ่มติดเตียง เพศชายเพิ่มจากร้อยละ 0.8 เป็น 0.9 และเพศหญิงเพิ่มจากร้อยละ 1.0 เป็น 1.2 ซึ่งสอดคล้องกับตำบลมะนังยง ที่มีผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียงที่เกิดจากโรคหลอดเลือดสมอง และจากผู้สูงอายุ เพิ่มมากขึ้น จากการดำเนินงานของทีมเยี่ยมบ้านพบว่าผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงส่วนใหญ่มีภาวะแทรกซ้อนด้านกล้ามเนื้อและข้อ ซึ่งช่วยเหลือตัวเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย มีอาการท้องผูกจากการที่ลำไส้ไม่เคลื่อนไหวเนื่องจากผู้ป่วยไม่ได้ขยับร่างกาย มีปัญหาแผลกดทับ ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อตามมา ตำบลมะนังยงมีทีมเยี่ยมบ้านที่เป็นผู้ดูแลหลัก ได้แก่ Care Giver อาสาสมัครสาธารณสุข และญาติผู้ดูแลผู้ป่วย เพื่อให้การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจึงควรเพิ่มทักษะและความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาและต่อยอดให้การดูแลผู้ป่วยบรรลุผลยิ่งขึ้น เกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยลง และผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยเพิ่มทักษะด้านการดูแลดังนี้ การบริหารกล้ามเนื้อและข้อ การประคบสมุนไพร การนวดน้ำมันกระตุ้นสัมผัส การนวดกระตุ้นการกลืน การนวดกระตุ้นการขับถ่ายการดูแลแผลกดทับ และการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง จึงได้ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง จัดทำโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่ตำบลมะนังยง ประจำปี2568 ขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงให้แก่ผู้ดูแล ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนที่จะตามมาได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และเกิดทักษะในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชนตำบลมะนังยงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างเหมาะสม ลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมกลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง
- กิจกรรมดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน
- กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลหลังอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และเกิดทักษะในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 100 2.ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ร้อยละ 80 |
20.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชนตำบลมะนังยงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างเหมาะสม ลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม ร้อยละ 100 |
15.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีความรู้และเกิดทักษะในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชนตำบลมะนังยงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างเหมาะสม ลดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมกลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง (2) กิจกรรมดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลหลังอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต.มะนังยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......