กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมีซานี อูเซ็ง




ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2479-2-05-68 เลขที่ข้อตกลง 23/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-2-05-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นภัยคุกคามที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสังคมในหลายระดับ โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อการถูกชักจูงให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้ง่าย เนื่องจากอยู่ในช่วงวัยที่ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อน ขาดประสบการณ์ในการตัดสินใจ และมีความอยากรู้อยากลองตามธรรมชาติของวัย ปัญหาายาเสพติดในพื้นที่ตำบลบูกิต โดยเฉพาะบ้านบูเก๊ะตาโมงค่อนข้างจะหนักและหาทางแก้ปัญหาค่อนข้างยาก ทางโรงเรียนจึงเล็งเห็นว่า การปลูกฝังให้นักเรียนรู้เท่าทันยาเสพติด จะเป็นเกราะป้องกันอย่างดีสำหรับตัวนักเรียนและครอบครัว นักเรียนคือทรัพยากรที่สำคัญของโรงเรียนบ้านบูเก๊ะตาโมง มิตรภาพ ที่128 การปลูกฝังความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการคิดวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจเลือกพฤติกรรมที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งจำเป็น โครงการอบรม โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จึงจัดขึ้นเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งภายในจิตใจของเยาวชน เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความภาคภูมิใจในตนเอง และการรู้คุณค่าของชีวิต พร้อมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อให้เยาวชนมีแนวทางในการใช้ชีวิตอย่างปลอดภัยและห่างไกลจากยาเสพติด มีจำนวนนักเรียน514 คน โดยมีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยง120 คน ซึงเป็นเด็กประถมศึกษาปีที่5 - มัธยมศึกษาปีที่3
ดังนั้น โรงเรียนบ้านบูเก๊ะตาโมง มิตรภาพที่128 จึงจัดทำโครงการเพื่อเป็นการวางรากฐานที่สำคัญต่อการส่งเสริมสุขภาพของเยาวชน และลดปัญหายาเสพติดในระยะยาว อันจะส่งผลดีต่อสุขภาพของประชาชนและการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กวัยเรียนตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ
  2. เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในเด็กวัยเรียน
  3. เพื่อสร้างแกนนำเด็กวัย เรียนต่อต้านยาเสพติดใน ชุมชนและครอบครัว
  4. เพื่อให้เด็กวัยเรียนไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและมีจิตสำนึกที่ดีตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ 2. สามารถป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดของนักเรียน 3. นักเรียนสามารถเป็นแกนนำต่อต้านยาเสพติดในโรงเรียนและชุมชน 4. นักเรียนและเยาวชนไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กวัยเรียนตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ
0.00

 

2 เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในนักเรียน
0.00

 

3 เพื่อสร้างแกนนำเด็กวัย เรียนต่อต้านยาเสพติดใน ชุมชนและครอบครัว
ตัวชี้วัด : มีแกนนำนักเรียนต่อต้านยาเสพติดในชุมชนและครอบครัว จำนวน 1 กลุ่ม
0.00

 

4 เพื่อให้เด็กวัยเรียนไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียนไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและปลูกจิตสำนึกให้แก่เด็กวัยเรียนตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย และส่งผลกระทบต่อปัญหา ครอบครัว สังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ (2) เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในเด็กวัยเรียน (3) เพื่อสร้างแกนนำเด็กวัย เรียนต่อต้านยาเสพติดใน ชุมชนและครอบครัว (4) เพื่อให้เด็กวัยเรียนไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอาชญากรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2479-2-05-68

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมีซานี อูเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด