โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต ตำบลปะโด ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต ตำบลปะโด ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-l3004-02-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด |
วันที่อนุมัติ | 19 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 23,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมารีย๊ะ อามูบาซา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.666,101.359place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ค. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 23,800.00 | |||
รวมงบประมาณ | 23,800.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ มีสติปัญญาและศักยภาพที่ดี ในช่วง 1000 วันแรกของชีวิต ข้อที่ 2. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัว ชุมชนและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแล และเอาใจใส่ต่อสุขภาพของสตรี ตั้งครรภ์และเด็กอายุ 0-2 ปี 3.เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วนและมีพัฒนาการตามวัย 4. เพื่อบูรณาการงานและสร้างความร่วมมือจากครอบครัว ภาคีเครือข่ายและองค์กรต่างๆ ในการพัฒนาสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ และเด็กอายุ 0-2 ปีและครอบครัว 5. เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีมาตรฐาน ตามชุดสิทธิ์ประโยชน์ที่พึงได้รับในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็กอายุ 0-2 ปี ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1.เด็กมีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย และจิตใจ
2.ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้ความตระหนักในการเลี้ยงดูเด็ก ส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมแจกจ่ายเกลือไอโอดีนแก่หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย (ตำบลไอโอดีน)(1 พ.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | |||||
รวม | 0.00 |
1 กิจกรรมแจกจ่ายเกลือไอโอดีนแก่หญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย (ตำบลไอโอดีน) | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | |
1.เกิดความร่วมมือผ่านภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
2.หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็วและสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้
3.หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่องภาวะโภชนการในระหว่างตั้งครรภ์และภาวะซีด พร้อมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการวางแผนครอบครัวและเตรียมความพร้อมในการตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
4.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการใช้เครื่องมือ DSPM ตรวจพัฒนาการได้อย่างถูกต้อง
5.เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการเจริญเติบโต ตามวัยเต็มศักยภาพและได้รับการส่งเสริมให้มีทักษะสุขภาพ
6.ฟันน้ำนมครบ 12 ซี่ไม่ผุ
8.พัฒนาการสมวัยของเด็กวัยสองขวบ พร้อมเข้าสู่ศูนย์เด็กเล็ก
9. เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการช่วยเหลือและแก้ไข
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 เม.ย. 2568 14:22 น.