หนูน้อยไร้เหา ด้วยสมุนไพรไทย ตำบลแหลมโพธิ์ ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | หนูน้อยไร้เหา ด้วยสมุนไพรไทย ตำบลแหลมโพธิ์ ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3051-01-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพตำบลแหลมโพธิ์ |
วันที่อนุมัติ | 27 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 17,950.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางนัสรียา สะอุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพตำบลแหลมโพธิ์ |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.942,101.296place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.พ. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 22,040.00 | |||
รวมงบประมาณ | 22,040.00 |
คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (22,040.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (17,950.00 บาท)
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 96 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 96 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 33 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครอง สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง เครื่องนอน เพื่อรักษา และป้องกันโรคเหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการเยี่ยมบ้านติดตามการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง เครื่องนอน ร้อยละ 50 |
50.00 | |
2 | เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงใช้ให้เกิดประโยชน์ ลดการใช้สารเคมี และช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย นักเรียนได้รับการรักษาเหาด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ร้อยละ 100 |
50.00 | |
3 | เพื่อให้นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาดเป็นการกำจัดแหล่งแพร่กระจายโรคเหา จำนวนนักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาด ร้อยละ100 |
50.00 | |
4 | เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่ จำนวนนักเรียนที่เป็นเหารายใหม่ลดลง |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ก.พ. 68 | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครองและอสม.เรื่องการกำจัดเหาและสาธิตการทำน้ำยากำจัดเหาโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น(1 ก.พ. 2568-30 ก.ย. 2568) | 17,950.00 | ||||||||
2 | เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนและอสม.ติดตามผลการรักษา(1 ก.พ. 2568-30 ก.ย. 2568) | 0.00 | ||||||||
รวม | 17,950.00 |
1 อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครองและอสม.เรื่องการกำจัดเหาและสาธิตการทำน้ำยากำจัดเหาโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 96 | 17,950.00 | 0 | 0.00 | 17,950.00 | |
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ผู้ปกครองและอสม.เรื่องการกำจัดเหาและสาธิตการทำน้ำยากำจัดเหาโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น | 96 | 17,950.00 | - | - | ||
2 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนและอสม.ติดตามผลการรักษา | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 | |
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนและอสม.ติดตามผลการรักษา | 0 | 0.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 96 | 17,950.00 | 0 | 0.00 | 17,950.00 |
1.ผู้ปกครองและนักเรียนสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง และเครื่องนอนได้ถูกต้อง 2.นักเรียนและผู้ปกครองสามารถนำสมุนไพรท้องถิ่นมาใช้ในการกำจัดเหาได้ 3.นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาด 4.ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2568 09:45 น.