กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรและการทำยาดมสมุนไพร ”
ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนับ สามะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรและการทำยาดมสมุนไพร

ที่อยู่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L01-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรและการทำยาดมสมุนไพร จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรและการทำยาดมสมุนไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรและการทำยาดมสมุนไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลได้กำหนดให้มียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทําแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน อันจะก่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่า “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” และได้กำหนดการพัฒนาสมุนไพรเป็นประเด็นสำคัญในวาระของประเทศ ผ่านมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2566 เห็นชอบต่อแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566 – 2570 เพื่อรองรับการขับเคลื่อน การพัฒนาและส่งเสริมสมุนไพรตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value chain) ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่ยอมรับได้
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกได้กำหนดเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ มุ่งเน้นให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ เสริมสร้างให้ประชาชนรอบรู้ด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร ตลอดจน ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการนำภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยสู่การใช้ประโยชน์สูงสุด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิเทน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสมุนไพรไทยในการนำภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยไปใช้ประโยชน์ เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่มีการแลกเปลี่ยน ถ่ายทอดสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยอดีต ซึ่งยาดมสมุนไพรเป็นภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยที่ใช้สมุนไพรในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนรอบรู้ด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคด้วยการแพทย์แผนไทย และสามารถนำไปใช้เป็นยาสามัญประจำบ้านในครัวเรือนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในเรื่องสมุนไพร และการนำไปใช้ประโยชน์ในการรักษาโรค 2.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในเรื่องการทำยาดมสมุนไพร 3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยมาผลิตเป็นยาดมสมุนไพร ไว้ใช้เป็นยาสามัญประจำบ้าน ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เบื้องต้นได้ ก่อนไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุการเจ็บป่วยต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพรและการทำยาดมสมุนไพร จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L01-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวไซนับ สามะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด