โครงการโรงเรียนไร้เสี่ยงไร้โรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการโรงเรียนไร้เสี่ยงไร้โรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 12498-68-01-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา |
วันที่อนุมัติ | 25 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 26 พฤษภาคม 2568 - 26 พฤษภาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 29,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางพาตีเมาะ นิแว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.382,101.703place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตและความพิการของประชากรทั่วโลก องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่าในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตทั้งหมด ๕๘ ล้านคน โดยร้อยละ ๖๐ หรือ ๓๕ ล้านคนมีสาเหตุการเสียชีวิตด้วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็งและโรคทางการหายใจ หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าในปี ๒๕๕๘ จะมีผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๗ หรือประมาณ ๓๘.๘ ล้านคน และยังพบว่าในภาระโรคทั้งหมดนั้นเป็นภาระ (Burden) จากโรคเรื้อรังดังกล่าวถึงร้อยละ ๔๕.๕๑จากสถิติการรายงานสาเหตุการตายของประชากรโลก พบว่า จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ จนถึงปัจจุบันและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นต่อไปในอนาคต จนถึงปีพ.ศ. ๒๕๒๓ ถ้ายังไม่มีมาตรการการดำเนินการที่เหมาะสมและมีคุณภาพเพียงพอโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศยากจน ทั้งด้านการสนับสนุนนโยบายและการจัดบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่ครอบคลุม ในกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มประชากรวัยทำงานหรือวัยผู้ใหญ่ในการลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำหรับในประเทศไทยจากการศึกษาของศูนย์ข้อมูลโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ๒ ในโครงการระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ BRFSS (Behavioral Risk Factors Surveillance System) พ.ศ. ๒๕๕๘ และ พ.ศ. ๒๕๕๐ ของประชากรอายุ ๑๕ - ๗๔ ปี พบว่า ความชุกของผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหัวใจและหลอดเพิ่มสูงขึ้นจาก ๑.๕ ล้านคนจากการสำรวจปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็น ๐.๗ ล้านคน ในการสารวจ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ และจากรายงานสถิติสาธารณสุข ในปีพ.ศ. ๒๕๕๑ พบว่า มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดสมองใหญ่ จำนวน ๑๓,๑๓๐ คน และจากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘๓ พบว่า ประชากรไทยที่มีอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปร้อยละ ๑.๘ มีประวัติได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจหรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย หากพิจารณาเฉพาะผู้ที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปพบเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๒.๓ เพศชายและหญิงมีความชุกของโรคใกล้เคียงกัน ความชุกเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้นความชุกสูงสุดในกลุ่มอายุ ๘๐ ปีขึ้นไปซึ่งพบร้อยละ ๖.๓ โรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศ ปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหารการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรอบรู้โดยใช้หลัก 4ร ได้แก่ รู้จักตัวเอง รู้จักอาหารและการเคลื่อนไหว รู้ตามติด และรู้ไปต่อ
|
2.00 | |
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีผลเบาหวานแบบเจาะปลายนิ้วลดลงและไม่เป็นผู้ป่วยเบาหวาน
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- หลังให้ความรู้เรื่อง 4ร กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เหมาะสม
- กลุ่มเสี่ยงเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ 4ร มีผลเบาหวานแบบเจาะปลายนิ้วลดลงและไม่เป็นผู้ป่วยเบาหวาน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2568 10:53 น.