โครงการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูอายุ
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูอายุ |
รหัสโครงการ | 1298-68-01-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา |
วันที่อนุมัติ | 25 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 7,050.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางแวซารีนา รายอคาลี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.382,101.703place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า การเข้ามามีบทบาทของอินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์มือถือ ส่งผลให้คนทุกคนล้วนแต่ต้องปรับตัวเพื่อก้าวทันยุคที่พัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี ซึ่งการเรียนรู้ทักษะทางด้านดิจิทัล(Digital Skill) เป็นสิ่งสำคัญกับมนุษย์ทุกคนรวมไปถึงผู้สูงอายุด้วย เพราะทำให้เรารู้เท่าทัน มีความรอบคอบ ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลลงในสื่อสาธารณะ การรักษาความปลอดภัยของตนเองเมื่ออยู่ในระหว่างการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็นส่วนหนึ่งในในทักษะและความรู้ ความคิดที่เรียกว่า ความรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) เพื่อให้เข้าใจโลกอีกใบหนึ่งที่เราจับต้องได้แค่ตัวอุปกรณ์ไว้สำหรับสื่อสาร วิธีการใช้งานของมัน เพื่อปกป้องและใช้ประโยชน์จากข้อมูลในโลกเสมือนจริงนี้ได้อย่างสร้างสรรค์ นับเป็นความคิดสร้างสรรค์ที่ขยับจากกิจวัตรทั่วไปที่เราคุ้นชินกันกับการทักทายด้วยการสวัสดีกัน มาสู่เทคโนโลยีใหม่แต่ยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ความเป็นบริบทของพื้นที่ให้เป็นที่มองเห็นถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดรอบตัวเรา เปลี่ยนเป็นการใช้เทคโนโลยี เพื่อการดูแลสุขภาพ ผ่านการใช้แอพพลิเคชั่น Bluebook ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นสำหรับผู้สูงอายุโดยเฉพาะสามารถจดบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง ดังนั้นผู้จัดทำโครงการจึงได้จัดทำโครงการ สูงวัยใส่ใจดิจิตัล โดยเป็นแกนนำนำร่องในการใช้เทคโนโลยีในพื้นที่ได้อย่างสร้างสรรค์และมีประโยชน์สูงสุด
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมทักษะการเข้าใจดิจิทัลของผู้สูงอายุในพื้นที่
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
- ผู้สูงวัยในพื้นที่ เข้าสู่การเป็นพลเมืองดิจิทัลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และสามารถใช้เทคโนโลยีในการดูแลสุขภาพตนเองได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2568 11:15 น.