กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ปี2568 ”
ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอีกรอม ดะอี




ชื่อโครงการ โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ปี2568

ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-l2515-02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ปี2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ปี2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ปี2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-l2515-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตของชาติ ต้องได้รับการพัฒนาเต็มตามองค์รวมครบทุกด้าน ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจริยธรรม คุณธรรม ทั้งนี้การพัฒนาเด็กและเยาวชนต้องอาศัยการบูรณาการผสมผสานกับวิถีชีวิตของเด็กและเยาวชน โดยสถานการณ์เกี่ยวกับปัญหาเด็กพบว่ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นในประเด็นของการถูกทอดทิ้ง ไม่ได้รับการเลี้ยงดูอย่างพอเพียง ทั้งนี้อาจสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ สำหรับประเด็นปัญหาด้านเด็กเป็นผู้กระทำผิดเองก็มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นทั้งปัญหาเด็กและเยาวชน ในเรื่องของปัญหายาเสพติด ปัญหาความความก้าวร้าว ปัญหาการใช้ความรุนแรง เป็นต้น
จาการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาดังกล่าว พบว่า ครอบครัว และชุมชนยังขาดศักยภาพในการดูแลสมาชิกของตนเอง และยังมีขีดความสามารถจำกัดในการจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ที่จะเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็กและเยาวชนในครอบครัว และชุมชนได้
สถานการณ์เยาวชนในพื้นที่ตำบลสามัคคีในปัจจุบันสภาพวิถีชีวิตของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ทั้งปัญหาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี และการเมืองการปกครอง ความรีบเร่งในการทำงาน และการประกอบอาชีพส่งผลต่อชีวิตประจำวันของประชาชนโดยรวม ตัวอย่างเช่น การไม่ให้ความสำคัญกับเวลาที่มีคุณค่ากับลูก การไม่รู้จักและตระหนักถึงภัยจากสื่อโฆษณา มีแหล่งจูงใจในทางที่ไม่สร้างสรรค์ ขาดความรู้ ขาดทักษะในการชี้แนะ เชื่อมโยงโน้มน้าวให้ลูกเกิดความรู้สึกนึกคิดที่ดีในการเข้ามาช่วยทำงานร่วมกับครอบครัว บ้านและโรงเรียนยังไม่สามารถทำงานร่วมกันในการพัฒนาเด็ก-เยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสภาพเงื่อนไขดังกล่าวก่อให้เกิดพื้นที่มั่วสุมพื้นที่เสี่ยง แหล่งอบายมุข สิ่งเสพติดของเด็ก-เยาวชน ทำอย่างไรที่จะให้เด็กและเยาวชนได้รู้จักคุณค่าของเวลา มีทักษะในการดำรงชีวิต มีทักษะในการทำงาน มีจิตอาสาในการร่วมกันสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ เพื่อชุมชน วิธีการ ให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ใช้เวลาว่างในการแก้ปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาวะของตนเองและของบุคคลในชุมชน เช่น กิจกรรมค่ายส่งเสริมสุขภาพ การทำงานร่วมกันเป็นทีม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้สามารถที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ2557 โดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 2ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชน ทำความดี ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง 2.เด็กและเยาวชน ทำความดี ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด 3.เด็กและเยาวชนมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4.เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชน ทำความดี ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด
    ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสมรรถภาพร่างกายและจิตใจที่เข้มแข็ง 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชน ทำความดี ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการค่ายส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด ปี2568 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 68-l2515-02-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอีกรอม ดะอี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด