โครงการอบรม เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการอบรม เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L5199-01-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งข่า |
วันที่อนุมัติ | 2 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 11 เมษายน 2568 - 17 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 42,679.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวศกุลตลา จิโอน |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางอรจิรา ตระกูลปัญญา |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 11 เม.ย. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 42,679.00 | |||
รวมงบประมาณ | 42,679.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : ระบุ |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความ สูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่า ปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา สดานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของประเทศไทย ตั้งแต่ ๑ มกราคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๗ พบ ผู้ป่วยแล้ว ๑๐๕,๒๕๐ ราย อัตราป่วย ๑๕๙.๑๕ ต่อแสน ปชก. เสียชีวิต ๙๐ ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๐๙ สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของจังหวัดสงขลา พบผู้ป่วยแล้ว ๔,๔๓๔ ราย อัตราป่วย ๓๐๙.๗๙ ๗๙ ต่อแสน ปชก. เสียชีวิต ๒ ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๐๕ สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของอำเภอนาทวี พบผู้ป่วยแล้ว ๑๓๓๗ ราย อัตราป่วย ๑๙๙๗.๒๗ ต่อแสน ปชก. ไม่พบผู้เสียชีวิต และสถานการณ์ของโรคไข้เลือดอออกของตำบลท่าประดู่ มี จำนวนผู้ป่วย ๑๓ ราย ไม่พบผู้เสียชีวิต ซึ่งเป็นผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน ทุ่งข่า จำนวน ๒ ราย และมีแนวโน้มสูงขึ้น จากสภาพภูมิอากาศ ที่มีฝนตกตั้งแต่ต้นปี การระบาดของโรคไข้เลือดออก ส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือน มีนาคม - กันยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และชีวนิสัย ของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การ บริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดใน การแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพ ปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่ง ปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและ ควบคมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชน เห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่าย สุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก(11 เม.ย. 2568-17 ก.ย. 2568) | 19,961.00 | ||||||
2 | กิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก(11 เม.ย. 2568-17 ก.ย. 2568) | 8,248.00 | ||||||
3 | กิจกรรมอบรมแกนนำสาขาควบคุมโรคติดต่อ(6 พ.ค. 2568-6 พ.ค. 2568) | 14,470.00 | ||||||
รวม | 42,679.00 |
1 กิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 50 | 19,961.00 | 0 | 0.00 | 19,961.00 | |
11 เม.ย. 68 - 17 ก.ย. 68 | กิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก | 50 | 19,961.00 | - | - | ||
2 กิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 8,248.00 | 0 | 0.00 | 8,248.00 | |
11 เม.ย. 68 - 17 ก.ย. 68 | การควบคุมโรคภายใน 3 ชม.หลังจากได้รับรายงานจากศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอนาทวี | 0 | 8,248.00 | - | - | ||
3 กิจกรรมอบรมแกนนำสาขาควบคุมโรคติดต่อ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 60 | 14,470.00 | 0 | 0.00 | 14,470.00 | |
6 พ.ค. 68 | กิจกรรมอบรมแกนนำสาขาควบคุมโรคติดต่อ | 60 | 14,470.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 110 | 42,679.00 | 0 | 0.00 | 42,679.00 |
1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 คนต่อแสนประชากร 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก 3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5.ทำให้สามารถลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2568 00:00 น.