โครงการเสริมสร้างภาวะโภชนาการในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเสริมสร้างภาวะโภชนาการในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2483-2-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ม.3 ตำบลนานาค |
วันที่อนุมัติ | 11 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 15,330.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางทองสุข ยวงคำ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ม.ค. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 15,330.00 | |||
รวมงบประมาณ | 15,330.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เด็กวัย 0-6 ปี เป็นวัยที่สำคัญที่สุดของพัฒนาการมนุษย์ เนื่องจากเป็นวัยที่เด็กมีพัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม ในเด็กวัยนี้จะเริ่มเรียนรู้สิ่งใหม่ๆมากมายรอบตัว และเริ่มมีความต้องการที่จะเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น โภชนาการในเด็กวัย 0-6 ปี เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เด็กในวัยนี้ต้องการสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างเพียงพอ โภชนาการ เป็นเรื่องของการกินอาหาร ที่ร่างกายเรานำ สารอาหาร จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุฯ โดยเฉพาะในเด็กแรกเกิด-6 ปี เป็นวัยรากฐานของการพัฒนา การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางรากฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้เเก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยเเก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นศสมช.บ้านปะดาดอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กแรกเกิด-6 ปี เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด-6 ปี เด็กอายุ0-6 ปี ที่พบภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณฑ์และภาวะโภชนาการมากกว่าเกณฑ์ ลดลงจากปี 2567 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ม.ค. 68 | ก.พ. 68 | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมการชั่งน้ำหนักเด็ก0-6 ปี ในหมู่บ้าน(10 เม.ย. 2568-10 เม.ย. 2568) | 0.00 | |||||||||
2 | กิจกรรมการชั่งน้ำหนักเด็ก0-6 ปี ในหมู่บ้าน(10 เม.ย. 2568-10 เม.ย. 2568) | 0.00 | |||||||||
รวม | 0.00 |
1 กิจกรรมการชั่งน้ำหนักเด็ก0-6 ปี ในหมู่บ้าน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | |
2 กิจกรรมการชั่งน้ำหนักเด็ก0-6 ปี ในหมู่บ้าน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | |
โ
1.อัตราของเด็กอายุ0-6 ปี ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานลดลง 2.ผู้ปกครอง สามารถดูเเลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กอายุ0-6 ปี ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2568 00:00 น.