โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางต่านหม๊ะ สาวนิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-1-14-68 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-1-14-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,298.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน คือ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ถ้าไม่รับการดูแลรักษาและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม จะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมามากมาย โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งปัจจุบันในผู้ป่วยhที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียรับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน โดยประกอบด้วย ม.4 บ้านกูเวผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 28 คน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 60 คน ม.5 บ้านสะเตียร์ ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 23 คน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 55 คนม.8 บ้านไอสะเตียสะเตียร์ ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 35 คน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 119 คน และม.13 บ้านไอร์กูเล็ง ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 48 คน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 89 คน (ข้อมูลจาก JHCIS รพ.สต.บ้านไอสะเตีย) มีภาวะแทรกซ้อน ทางสมอง จำนวน 51 คน มีภาวะแทรกซ้อนทางไต 5 คน มีภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมอง จำนวน 23 คน และมีภาวะเสี่ยงต่อภาวะหัวใจและหลอดเลือด จำนวน77 คนพบว่าในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จะส่งผลต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต) เป็นสาเหตุการป่วย พิการและเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกและประเทศไทย ส่งผลให้เกิดภาระและสูญเสียในทุกมิติทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจต่อทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ โดยมีปัจจัยเสี่ยงหลักที่สำคัญต่อการเกิดโรคดังนี้ ภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ ภาวะอ้วน และผลการการประเมินผู้ป่วยเรื้อรังจากโปรแกรม Thai CV risk score) ทำให้มีโอกาสเสี่ยงสูงเพิ่มขึ้นในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตีย ได้ตระหนักถึงความสำคัญ เพื่อไม่ให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง เกิดอุบัติการณ์ พิการ และเสียชีวิตเกิดขึ้นในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนและดำเนินชีวิตได้ตามปกติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและ ปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน ภาวะการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
- เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะโรคอัมพฤกษ์อัมพาต
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง
- เพิ่มศักยภาพ ผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
- อบรมให้ความรู้แก่ อสม ในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
- ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ดูแลผู้ป่วย
48
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยมีความรู้สามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม
2.ผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตรายใหม่ลดลง
3.ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจการป้องกันโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง
4.อสม.มีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและ ปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน ภาวะการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ความสามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม
0.00
2
เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะโรคอัมพฤกษ์อัมพาต
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตรายใหม่ลดลง
0.00
3
เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจ
การป้องกันโรคหัวใจและโรค
หลอดเลือดสมอง
0.00
4
เพิ่มศักยภาพ ผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความสามารถ
ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
98
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ผู้ดูแลผู้ป่วย
48
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและ ปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน ภาวะการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะโรคอัมพฤกษ์อัมพาต (3) เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง (4) เพิ่มศักยภาพ ผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ (2) อบรมให้ความรู้แก่ อสม ในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ (3) ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-1-14-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางต่านหม๊ะ สาวนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางต่านหม๊ะ สาวนิ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-1-14-68 เลขที่ข้อตกลง 15/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-1-14-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,298.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน คือ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ถ้าไม่รับการดูแลรักษาและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม จะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมามากมาย โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งปัจจุบันในผู้ป่วยhที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียรับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน โดยประกอบด้วย ม.4 บ้านกูเวผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 28 คน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 60 คน ม.5 บ้านสะเตียร์ ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 23 คน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 55 คนม.8 บ้านไอสะเตียสะเตียร์ ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 35 คน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 119 คน และม.13 บ้านไอร์กูเล็ง ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 48 คน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 89 คน (ข้อมูลจาก JHCIS รพ.สต.บ้านไอสะเตีย) มีภาวะแทรกซ้อน ทางสมอง จำนวน 51 คน มีภาวะแทรกซ้อนทางไต 5 คน มีภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมอง จำนวน 23 คน และมีภาวะเสี่ยงต่อภาวะหัวใจและหลอดเลือด จำนวน77 คนพบว่าในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จะส่งผลต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต) เป็นสาเหตุการป่วย พิการและเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกและประเทศไทย ส่งผลให้เกิดภาระและสูญเสียในทุกมิติทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจต่อทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ โดยมีปัจจัยเสี่ยงหลักที่สำคัญต่อการเกิดโรคดังนี้ ภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ ภาวะอ้วน และผลการการประเมินผู้ป่วยเรื้อรังจากโปรแกรม Thai CV risk score) ทำให้มีโอกาสเสี่ยงสูงเพิ่มขึ้นในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตีย ได้ตระหนักถึงความสำคัญ เพื่อไม่ให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง เกิดอุบัติการณ์ พิการ และเสียชีวิตเกิดขึ้นในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนและดำเนินชีวิตได้ตามปกติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและ ปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน ภาวะการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
- เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะโรคอัมพฤกษ์อัมพาต
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง
- เพิ่มศักยภาพ ผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
- อบรมให้ความรู้แก่ อสม ในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
- ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ผู้ดูแลผู้ป่วย | 48 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยมีความรู้สามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม
2.ผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตรายใหม่ลดลง
3.ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจการป้องกันโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง
4.อสม.มีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและ ปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน ภาวะการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ความสามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะโรคอัมพฤกษ์อัมพาต ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตรายใหม่ลดลง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจ การป้องกันโรคหัวใจและโรค หลอดเลือดสมอง |
0.00 |
|
||
4 | เพิ่มศักยภาพ ผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความสามารถ ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 98 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ผู้ดูแลผู้ป่วย | 48 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและ ปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน ภาวะการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะโรคอัมพฤกษ์อัมพาต (3) เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง (4) เพิ่มศักยภาพ ผู้ดูแลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ (2) อบรมให้ความรู้แก่ อสม ในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ (3) ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-1-14-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางต่านหม๊ะ สาวนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......