โครงการครอบครัวผูกผัน สานสัมพันธ์ รู้ทันภัย
ชื่อโครงการ | โครงการครอบครัวผูกผัน สานสัมพันธ์ รู้ทันภัย |
รหัสโครงการ | 68-l2515-02-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมจิตอาสาตำบลสามัคคี |
วันที่อนุมัติ | 5 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 40,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | น.ส รุสมี ลาโละซู 2.น.สยารอดะห์ บือราเฮง 3.น.สมารียานี อาลี 4.น.สนุร์รีสา ดอแมง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.423,101.587place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของคนในสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ “อินเตอร์เน็ต” ได้กลายเป็นแหล่งข้อมูลขนาด ใหญ่ที่มาในรูปแบบของการสื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นยุคแห่งการสื่อสารไร้พรมแดน นำไปสู่การเกิด เครือข่ายสังคมใหม่ที่เรียกว่า “เครือข่ายสังคมออนไลน์” (Social Network) เกิดเป็นพื้นที่สาธารณะที่สมาชิก ทุกคน ทุกเพศสภาพ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติและศาสนา ทุกระดับการศึกษา ทุกสาขาอาชีพ เป็นผู้สื่อสารหรือเขียน เล่าเนื้อหาเรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่สมาชิกเขียนและทำขึ้นเองหรือพบเจอจากสื่อ อื่น ๆ แล้วนำมาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนผ่านสื่อสังคมออนไลน์(Social Media) สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงในการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัว ขยายกลายเป็นครอบครัวเดียว อีกทั้งสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทำให้พ่อแม่ต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้าน ส่งผลให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่น เยาวชนในครอบครัวขาดการดูแล ชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสม ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี วัฒนธรรม เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่น สื่อลามกในโลกอินเตอร์เน็ต บวกกับการแพร่ระบาดของยาเสพติดเป็นวงกว้าง สิ่งเหล่านี้มีผลให้เยาวชนมีภาวะเสี่ยงในการใช้ชีวิตในทางที่ผิดมากขึ้น และอาจเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมด้วยนั้นส่งผลให้เยาวชนที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมมีอายุน้อยลงมาก ขาดวุฒิภาวะในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น เยาวชนขาดความรู้เรื่อง เพศศึกษา การคุมกำเนิด เป็นต้น การป้องกันโรคติดต่อทางเพศในระดับต่ำมาก สำหรับบางคนก็ไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์ ทำให้ไม่ได้ดูแลสุขภาพร่างกาย บางรายหาทางออกโดยการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เสียชีวิตได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงลูกสมวัยตามสถานการณ์ปัจจุบัน 2.เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่คนในครอบครัว 2.เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้แก่คนในครอบครัว |
80.00 |
- ผู้ปกครองสามารถป้องกันภัยคุกคามทางสังคมแก่เยาวชนได้ 2. สามารถสร้างความรัก ความเข้าใจ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 เม.ย. 2568 15:32 น.