โครงการผู้สูงอายุสร้างสุข สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ
ชื่อโครงการ | โครงการผู้สูงอายุสร้างสุข สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ |
รหัสโครงการ | 68-L8300-3-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลแว้ง |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 76,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอาซิบ อับดุลเลาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.936,101.835place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 450 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันอายุขัยของประชากรทั่วโลกเพิ่มขึ้น อายุขัยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 80 ปี โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหรือกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ภายในไม่กี่ศตวรรษที่ผ่านมาอายุของคนเราหรือกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ภายในไม่กี่ศตวรรษที่ผ่านมา อายุของคนเราเพิ่มขึ้นสองหรือสามเท่า อันเนื่องมาจากคุณภาพชีวิตของประชาชนที่พัฒนาขึ้นอย่างน่าพอใจ โดยมีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และวิทยาการทางการแพทย์เป็นเหตุปัจจัยสำคัญอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตาม คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชากรกลับทำให้เกิดความท้าทายใหม่ๆ ระบบสังคมควรและต้องปรับเปลี่ยนเพิ่มมากขึ้นอัตราการเกิดที่เท่ากับจำนวนที่เพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุในประเทศตะวันตกหลายๆประเทศกลับไม่ก่อให้เกิดความสมดุลของจำนวนประชากรในช่วงวัยต่างๆ แต่อย่างใด นั่นหมายความว่าประชากรในวัยทำงานจะมีจำนวนน้อยลงเรื่อยๆ และจะต้องมีภาระรับผิดชอบประชากรผู้สูงอายุที่มีจำนวนมากขึ้นๆ พันธะหน้าที่ระหว่างกันของประชากรต่างวัยอยู่ในลักษณะที่ไม่สมดุล เสมือนระเบิดเวลาทางสังคมที่ต้องได้รับการปลดชนวนให้ทันเวลา ประชากรในสังคมควรมีชีวิตอันยืนยาวที่มีคุณค่าได้ด้วยความรับผิดชอบต่อตัวเอง โดยมีชุมชนคอยเกื้อหนุนไปด้วยในเวลาเดียวกัน เนื่องด้วยทุกก้าวในชีวิตประชากรล้วนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเด็นนี้ ตั้งแต่การดำรงชีวิตประจำวันไปจนถึงการสาธารณสุขการดำเนินการจัดการกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรผู้สูงอายุได้อย่างก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญที่กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลแว้งได้เล็งเห็นจึงได้เสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลแว้งเพื่อพิจารณาในการจัดโครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ เรียนรู้ ป้องกัน ห่างไกลโรค เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุ ในด้านสุขภาพ สังคม ภูมิปัญญาและเศรษฐกิจ 1.ผู้สูงอายุมีพัฒนาการดีขึ้น ในเรื่องเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ 2.ผู้สูงอายุนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปบอกต่อเพื่อนๆ 3.ผู้สูงอายุสามารถดูแลตัวเองเบื้องต้นที่บ้านเองได้ก่อนเข้ารับการรักษาจากสถานพยาบาล |
||
2 | เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ 1.ผู้สูอายุได้รับอุบัติเหตุในบ้านลดลง เช่น ลื่นล้มในห้องน้ำ ทานยาผิดประเภทหรือผิดเวลา ฯลฯ
2.สามารถทำอาหารเองอย่างง่ายที่เหมาะกับผู้สูงอายุที่บ้านได้ |
||
3 | เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว 1.ผู้สูงอายุมีความรู้เบื้องต้นในการดูแลตนเองและคนในครอบครัว 2.สร้างการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนที่เป็นผู้สูงอายุด้วยกัน 3.ผู้สูงอายุแสดงความรักและเอื้ออาทรต่อกันเมื่อมีความยากลำบาก |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 2568 10:04 น.