โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568 ”
ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวยารียะ หะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568
ที่อยู่ ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-l3004-02-21 เลขที่ข้อตกลง 68-l3004-02-21
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-l3004-02-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัจจุบัน “มะเร็งปากมดลูก” ภัยร้ายที่คุกคามสตรีทั่วโลก พบมากเป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย แนะหมั่นใส่ใจสังเกตความผิดปกติและตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอ ชี้การติดเชื้อ Persistent HPV เป็นสาเหตุของการเกิดมะเร็งปากมดลูก 95 % ถ้าไม่ได้รับการรักษา
เมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2568 นพ.สกานต์ บุญนาค รองอธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า มะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับที่ 4 ของผู้หญิงทั่วโลก และลำดับ 5 ของประเทศไทย สาเหตุหลักของมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อเอชพีวี สายพันธุ์ 16, 18 และสายพันธุ์ความเสี่ยงสูงอื่น ๆ (Human papillomavirus หรือ HPV) เชื้อเอชพีวีเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่งที่สามารถติดได้ทั้งที่ผิวหนัง อวัยวะเพศ ในช่องปาก และลำคอ โดยปกติผู้ที่มีเพศสัมพันธ์สามารถติดเชื้อไวรัสนี้ได้แต่มักจะไม่แสดงอาการ ส่วนมากระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายของเราสามารถที่จะกำจัดเชื้อออกจากร่างกาย มีเพียงร้อยละ 5-10 เท่านั้นที่ระบบภูมิคุ้มกันไม่สามารถกำจัดเชื้อเอชพีวีสายพันธุ์ความเสี่ยงสูงออกไปได้ ทำให้การติดเชื้อคงอยู่นาน (persistent HPV) และสามารถก่อให้เกิดความผิดปกติของเซลล์จนเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์มะเร็งในที่สุด ซึ่งการติดเชื้อเอชพีวีในลักษณะคงอยู่นานหรือ Persistent HPV นี้ ถ้าไม่ได้รับการรักษา จะเป็นสาเหตุของการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ถึง 95 % โดยจะใช้เวลาประมาณ 15-20 ปี หลังการติดเชื้อจนกลายไปเป็นเซลล์มะเร็ง อย่างไรก็ตาม ถือเป็นโชคดีที่เราสามารถรู้ถึงสาเหตุที่ก่อมะเร็งปากมดลูก ทำให้เราสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งชนิดนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพจากการฉีดวัคซีน การตรวจคัดกรองและรักษาโรคตั้งแต่ระยะก่อนเป็นโรคมะเร็ง
สถานการณ์การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของ รพ.สต.ปานัน มีความลำบากในการที่จะชักชวนให้กลุ่มสตรีที่มีอายุ 30-60 ปี
มาตรวจคัดกรอง เนื่องจาก กลุ่มเป้าหมายบางส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจและมีความกลัว ผลการคัดกรองน้อย ส่งผลให้เกิดความไม่ตระหนักต่อการตรวจคัดกรอง ที่เป็นการคัดกรองเพื่อ เฝ้าระวังป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกตั้งแต่เริ่มต้น
ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวทาง อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำ รพ.สต.ปานัน
ซึ่งเป็นบุคคลที่ประชาชนใกล้ชิดและใว้ใจ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้นมาเพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี ตระหนักถึงความสำคัญ
ต่อการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและได้รับการคัดกรองเพิ่มมากขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ ตำบลปานัน มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลปานัน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมให้ความรู้แก่แก่สตรีอายุ 30-60 ปี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้รับการคัดกรองความผิดปกติ และได้รับการรักษา ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก ระยะลุกลาม และลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ ตำบลปานัน มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลปานัน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเอง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องมะเร็งปากมดลูก
ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเอง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ ตำบลปานัน มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลปานัน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมให้ความรู้แก่แก่สตรีอายุ 30-60 ปี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-l3004-02-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวยารียะ หะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568 ”
ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวยารียะ หะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-l3004-02-21 เลขที่ข้อตกลง 68-l3004-02-21
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะโด อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-l3004-02-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัจจุบัน “มะเร็งปากมดลูก” ภัยร้ายที่คุกคามสตรีทั่วโลก พบมากเป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย แนะหมั่นใส่ใจสังเกตความผิดปกติและตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอ ชี้การติดเชื้อ Persistent HPV เป็นสาเหตุของการเกิดมะเร็งปากมดลูก 95 % ถ้าไม่ได้รับการรักษา
เมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2568 นพ.สกานต์ บุญนาค รองอธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า มะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับที่ 4 ของผู้หญิงทั่วโลก และลำดับ 5 ของประเทศไทย สาเหตุหลักของมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อเอชพีวี สายพันธุ์ 16, 18 และสายพันธุ์ความเสี่ยงสูงอื่น ๆ (Human papillomavirus หรือ HPV) เชื้อเอชพีวีเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่งที่สามารถติดได้ทั้งที่ผิวหนัง อวัยวะเพศ ในช่องปาก และลำคอ โดยปกติผู้ที่มีเพศสัมพันธ์สามารถติดเชื้อไวรัสนี้ได้แต่มักจะไม่แสดงอาการ ส่วนมากระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายของเราสามารถที่จะกำจัดเชื้อออกจากร่างกาย มีเพียงร้อยละ 5-10 เท่านั้นที่ระบบภูมิคุ้มกันไม่สามารถกำจัดเชื้อเอชพีวีสายพันธุ์ความเสี่ยงสูงออกไปได้ ทำให้การติดเชื้อคงอยู่นาน (persistent HPV) และสามารถก่อให้เกิดความผิดปกติของเซลล์จนเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์มะเร็งในที่สุด ซึ่งการติดเชื้อเอชพีวีในลักษณะคงอยู่นานหรือ Persistent HPV นี้ ถ้าไม่ได้รับการรักษา จะเป็นสาเหตุของการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ถึง 95 % โดยจะใช้เวลาประมาณ 15-20 ปี หลังการติดเชื้อจนกลายไปเป็นเซลล์มะเร็ง อย่างไรก็ตาม ถือเป็นโชคดีที่เราสามารถรู้ถึงสาเหตุที่ก่อมะเร็งปากมดลูก ทำให้เราสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งชนิดนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพจากการฉีดวัคซีน การตรวจคัดกรองและรักษาโรคตั้งแต่ระยะก่อนเป็นโรคมะเร็ง
สถานการณ์การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของ รพ.สต.ปานัน มีความลำบากในการที่จะชักชวนให้กลุ่มสตรีที่มีอายุ 30-60 ปี
มาตรวจคัดกรอง เนื่องจาก กลุ่มเป้าหมายบางส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจและมีความกลัว ผลการคัดกรองน้อย ส่งผลให้เกิดความไม่ตระหนักต่อการตรวจคัดกรอง ที่เป็นการคัดกรองเพื่อ เฝ้าระวังป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกตั้งแต่เริ่มต้น
ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวทาง อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำ รพ.สต.ปานัน
ซึ่งเป็นบุคคลที่ประชาชนใกล้ชิดและใว้ใจ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้นมาเพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี ตระหนักถึงความสำคัญ
ต่อการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและได้รับการคัดกรองเพิ่มมากขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ ตำบลปานัน มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลปานัน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมให้ความรู้แก่แก่สตรีอายุ 30-60 ปี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้รับการคัดกรองความผิดปกติ และได้รับการรักษา ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก ระยะลุกลาม และลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ ตำบลปานัน มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลปานัน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเอง ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเอง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ ตำบลปานัน มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ข้อที่ 2.เพื่อให้สตรีอายุ30-60 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลปานัน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมให้ความรู้แก่แก่สตรีอายุ 30-60 ปี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการให้ความรู้และคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตนเองเชิงรุกในพื้นที่ ตำบลปานัน ปี2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-l3004-02-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวยารียะ หะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......