โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กปฐมวัย ศพด.บ้านม่วง
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กปฐมวัย ศพด.บ้านม่วง |
รหัสโครงการ | 68-L5252-02-12 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | หัวหน้าสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านม่วง |
วันที่อนุมัติ | 25 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 16 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 31,635.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวอัญชลีพร แซ่อึ่ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.567,100.516place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 16 พ.ค. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 31,635.00 | |||
รวมงบประมาณ | 31,635.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 15 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | การพัฒนาเด็กให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาชาติอย่างยั่งยื่น อันดับเเรกของการพัฒนาเด็ก คือการพัฒนาสุขภาพอนามัย เพราะเป็นพื้นฐานของการพัฒนาด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาตลอดจนคุณธรรมจริยธรรมของเด็กอาหารจึงนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในการด | 100.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การพัฒนาเด็กให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาชาติอย่างยั่งยื่น อันดับเเรกของการพัฒนาเด็ก คือการพัฒนาสุขภาพอนามัย เพราะเป็นพื้นฐานของการพัฒนาด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาตลอดจนคุณธรรมจริยธรรมของเด็กอาหารจึงนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิตขอมนุษย์
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครองในเรื่องการส่งเสริมให้เด็กทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์เพื่อร่างกายที่มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย เด็กปฐวัย ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 มีน้ำหนักตามเกณฑ์ |
70.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเห็นถึงความสำคัญของการลดอาหารที่ไม่มีประโยชน์ในการให้เด็กทาน ในช่วงเช้า เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมทานอาหารเช้า ร้อละ 100 ทานอหารเช้าทุกคน |
100.00 | 100.00 |
3 | เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีน้ำหนักตามเกณฑ์ เด็กที่ทานขนมกรุบกรอบแทนอาหารเช้ามีพฤติกรรมลดลงร้อยละ 90 และรับประทานอาหารเช้าที่มีปรโยชน์แทน |
90.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ผู้ปกครองได้รับความรู้ในเรื่องการส่งเสริมให้เด็กทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์เพื่อร่างกายที่มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 2.ผู้ปกครองเล็งเห็นถึงความสำคัญของการลดอาหารที่ไม่มีประโยชน์ในการให้เด็กทาน ในช่วงเช้า 3.เด็กปฐมวัยมีน้ำหนักเหมาะสมตามวัย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 2568 15:17 น.