โครงการชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุตำบลสาคร งบประมาณปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุตำบลสาคร งบประมาณปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L5290-02-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมผู้สูงอายุตำบลสาคร |
วันที่อนุมัติ | 26 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 25,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ชมรมผู้สูงอายุตำบลสาคร |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.787,99.865place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นผู้ที่เคยได้ทำประโยชน์ต่อสังคมในช่วงชีวิตที่ผ่านมานับได้ว่าเป็นบุคคลที่มีคุณค่าสมควรที่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุตรหลานและบุคคลในสังคมโดยเฉพาะด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยคือโรคความดัน โลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคข้อเข่าเสื่อม โรคไขมันในเส้นเลือด เป็นต้น ซึ่งเป็นปัญหาทางร่างกาย และจิตใจ บุคคลเมื่อก้าวสู่วัยผู้สูงอายุภาระหน้าที่ และบทบาทในสังคมลดลงทำให้โอกาสในการพบปะผู้คนอื่นน้อยลงทำให้รู้สึกว่าคุณค่าความสามารถและประโยชน์ไม่เป็นไปที่ต้องการหรือยอมรับของสังคมดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุไม่ว่าจะเป็นการบริการด้านสุขภาพหรือการส่งเสริมด้านจิตใจโดยการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ทางสาธารณสุขเพื่อบรรลุเป้าหมายเมืองไทยสุขภาพดีผู้สูงอายุของชมรมผู้สูงอายุตำบลสาครมีกิจกรรมประจำทุกเดือน ชมรมผู้สูงอายุตำบลสาครได้ตระหนักถึงคุณค่าและเล็งเห็นถึงความสำคัญของผู้สูงอายุเหล่านี้ และได้ดำเนินการในรูปแบบของการตรวจสุขภาพการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ และปัญหาที่พบบ่อยในวัยผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ผู้สูงอายุซึ่งเป็นสมาชิกของชมรมได้รับการตรวจสุขภาพ ผู้สูงอายุอย่างน้อย 80% ได้ตรวจสุขภาพเดือนละ 1 ครั้ง |
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์และทำกิจกรรมร่วมกัน ผู้สูงอายุได้พบปะและทำกิจกรรมร่วมกันเดือนละ 1 ครั้ง |
||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความสามารถดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตัวเองได้อย่างเหมาะสมมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองอย่างน้อย 80% |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ผู้สูงอายุซึ่งเป็นสมาชิกของชมรมได้รับการตรวจสุขภาพ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์และทำกิจกรรมร่วมกัน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความสามารถดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตัวเองได้อย่างเหมาะสมมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
กิจกรรมของชมรมทุกเดือนมีดังนี้
1.จัดทำทะเบียนชมรม ข้อมูลส่วนตัว
2.ให้ความรู้ทางศาสนาโดยวิทยากร
3.ชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินงานในรอบเดือนของชมรม
4.เจ้าหน้าที่รพ.สตให้ความรู้
5. รับประทานของหวาน และเครื่องดื่ม
6. ซักถามสรุปนัดหมายปิดประชุม
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตจัด 1 วันดังนี้
1. ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจน้ำตาลในเลือด
2. พิธีเปิด โดยนายกองค์การบริหาร่วนตำบลาคร
3. ให้ความรู้ทางศาสนาโดยวิทยากร
4 รับประทานอาหารว่าง และเครื่องดื่ม
5 ให้ความรู้เรื่องหลักการดูแลสุขภาพโดย การรับประทานอาหารที่เหมาะสม (สุดา ยามาเหล็น )
6 . พักรับประทานอาหารเที่ยง
7. เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ให้ความรู้เรื่อง การออกกำลังกาย การควบคุมน้ำหนัก การกลั้นปัสสาวะ
8. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
9. พบกับประธานชมรม เรื่อง สิทธิและการจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกผู้สูงอายุ
10. ซักถามตอบปัญหาสรุป และปิดประชุม
1.ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมได้รับการดูแลด้านสุขภาพและสวัสดิการทุกคน
2. ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพของตัวเองเบื้องต้นได้
3 ผู้สูงอายุได้รับความสนุกเพลิดเพลินคลายเครียด
4 ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 เม.ย. 2568 09:43 น.