ธนาคารขยะส่งเสริมการคัดแยกขยะในครัวเรือนสู่สุขภาพอนามัยที่ดี
ชื่อโครงการ | ธนาคารขยะส่งเสริมการคัดแยกขยะในครัวเรือนสู่สุขภาพอนามัยที่ดี |
รหัสโครงการ | 68-L02-19 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะกรรมการหมู่บ้าน |
วันที่อนุมัติ | 19 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 10 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 12,345.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมะวอซี เปาะแม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.679,101.467place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยถือเป็นปัญหาหลักด้านมลพิษของประเทศไทยในปัจจุบัน เนื่องจากจำนวนของประชาชนที่เพิ่มมากขึ้นพร้อมกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งส่งผลให้รูปแบบ การดำรงชีวิตของประชาชนจากรูปแบบชุมชนชนบท ซึ่งผลิตขยะมูลฝอยเพียงเล็กน้อยต่อวันกลายเป็นการดำรงชีวิตแบบชุมชนเมืองหรือชุมชนอุตสาหกรรม ซึ่งก่อให้เกิดปริมาณขยะมูลฝอยต่อวันเป็นจำนวนมาก รวมถึงข้อจำกัดด้านพื้นที่ในการกำจัด – ขยะมูลฝอย ซึ่งในปัจจุบันมีพื้นที่ที่จะสามารถกำจัดขยะมูลฝอย ได้น้อยลงทุกวัน รวมทั้งการต่อต้านจากประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรอบสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย จึงส่งผลให้ ความรุนแรงของปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ฉะนั้นแนวทางในการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของประชาชนในการจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลต้องเริ่มต้นที่การจัดการกับประชาชนเป็นอันดับแรกก่อน ทั้งนี้ เนื่องจากประชาชนในท้องถิ่นเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยอยู่ในปัจจุบัน การให้ความรู้ความเข้าใจ การส่งเสริม และการประชาสัมพันธ์หรือการรณรงค์ให้ประชาชนมีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยจากครัวเรือนหรือจากแหล่งกำเนิดก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้ท้องถิ่นสามารถบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปกำจัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ประชุมปรึกษาหารือการจัดกิจกรรมในโครงการฯ
- จัดทำโครงการฯ และเสนอขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลพิเทน
- ประสานงานและมอบหมายงานให้แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
- ดำเนินงานกิจกรรมที่กำหนด กิจกรรมที่ 1 ประชุมวางแผนคณะกรรมการธนาคารขยะบ้านป่ามะพร้าว เพื่อจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ และสถานที่ในการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 2 อบรมสมาชิกและผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อให้มีความรู้ในการคัดแยกขยะ และวิธีการทำถังขยะเปียก กิจกรรมที่ 3 ทำถังขยะเปียกนำร่องภายในชุมชน กิจกรรมที่ 4 ซื้อขายขยะ (Recycle) เดือนละครั้ง กิจกรรมที่ 5 ติดตามและประเมินผลโครงการ
6.1 ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ (Recycle) 6.2 ปริมาณขยะในชุมชนมีจำนวนลดลง 6.3 ชุมชนมีรายได้เพิ่มจากการซื้อขายขยะ 6.4 ชุมชนในตำบลพิเทนสะอาดน่าอยู่ อย่างยั่งยืน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 เม.ย. 2568 11:44 น.