โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568 ”
ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางรินทร์ บุญอนันต์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4140-2-7 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4140-2-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาวะการณ์สังคมไทยในปัจจุบัน ผู้ป่วยสูงอายุมักมีปัญหาเรื่อง "ปวดหลัง" ซึ่งมักได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นจากกระดูกสันหลังเสื่อมซึ่งผู้ป่วยหลายท่านจะรู้สึกท้อแท้ เพราะรู้สึกว่า การเสื่อมสภาพตามวัยแบบนี้ ไม่มีทางดีขึ้นได้ เป็นเรื่องธรรมชาติที่ต้อง "ปลง" การที่ผู้ป่วยสูงอายุมีอาการปวดหลังนั้น สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากความ "ติดแข็ง" (Stiff) ของเนื้อเยื่อรอบๆกระดูกสันหลังเช่นการติดแข็งของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น มากกว่าที่จะปวดจากกระดูกสันหลังจริงๆ ปัญหาใหญ่คือการทำให้ผู้ป่วยเปลี่ยนทัศนคติที่จะรักษาตัวเองจากการกินยา หรือนอนให้หมอผ่าตัด มาเป็นการรักษาอาการปวดด้วยตัวเองด้วยการออกกำลังกาย โดยท่ารำไม้พลอง ซึ่งหลังจากการได้ออกกำลังกาย ที่เหมาะสม ส่วนใหญ่มีอาการปวดหลังน้อยลงมากจนสามารถหยุดยาแก้ปวดได้มีความอ่อนตัว ของกระดูกสันหลัง มากขึ้น ผู้ป่วยมีความรู้สึกว่าหลังคดน้อยลง เดินได้ดีขึ้นสุขภาพโดยทั่วไปดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งผลที่ได้นับว่า ปลอดภัยดีกว่าการไปเสี่ยงกับการผ่าตัดให้กระดูกสันหลังตรงโดยใช้โลหะซึ่งเป็นทางเลือกสุดท้าย
กรณีศึกษา รายป้าบุญมี เครือรัตน์ นับเป็นผู้หนึ่งที่ปฏิวัติวิธีการออกกำลังกายของผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังเรื้อรังจากกระดูกเสื่อม คุณป้ามีประวัติที่น่าสนใจมากท่านเป็นหนึ่งในผู้ป่วยที่มีปวดหลังเรื้อรังมานานหลายสิบปี มีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดเพชรบุรี คุณป้ามีความทุกข์ทรมาณมากจากการปวดหลังโดยต้องรับประทานยาเป็นประจำ จนเกิดปัญหาข้างเคียงจากยาแก้ปวดมีความท้อแท้มากจนไม่อยากทำงาน ไม่อยากออกจากบ้าน จนมาวันหนึ่ง ท่านเห็นเศษท่อนไม้ที่ถูกทิ้งไว้กองสุมกันอยู่ท่านลองเอาไม้มาแกว่งไปมา ลองดัดกับลำตัว ปรากฎว่าวันต่อมาอาการปวดหลังของท่านดีขึ้น ป้าบุญมีจึงลองทำการออกกำลังกายด้วยไม้ต่อเป็นประจำ จนคิดท่าต่างๆได้ถึง 12 ท่า เป็นท่า "รำไม้พลอง" ของป้าบุญมีผลจากการออกกำลังกายนี้ ทำให้ป้าบุญมีสามารถหยุดยาแก้ปวดหลังได้ทั้งหมดอย่างไม่น่าเชื่อมีชีวิตกลับมาปกติ ออกไปทำงานนอกบ้านไปอยู่ในสังคมภายนอกได้ ไม่ต้องเสี่ยงต่อปัญหาข้างเคียง ของยาแก้ปวดไม่ต้อถูกผ่าตัด ข่าวการรักษาตัวเองด้วยไม้พลองของป้าบุญมีได้แพร่หลายขึ้นไปสู่ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขได้มีการวิจัยและพัฒนาจนพิสูจน์ได้แล้วว่าการออกกำลังกายวิธีนี้มีประโยชน์จริงต่อผู้ป่วยปวดหลัง ในผู้สูงอายุ จนต้องจดลิขสิทธิ์เป็นของไทยเนื่องจากมีต่างประเทศพยายามมาลอกเลียนและจดลิขสิทธิ์ ว่าเป็นของต่างประเทศ
ทาง อสม. หมู่ 3 บ้านพรุ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายโดยใช้ไม้พลองในการบำบัดฟื้นฟู ให้กับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูก อาการปวดเมื่อยโดยมีท่าบริหารจำนวน 12 ท่าเป็นพื้นฐานในการบริหาร ยืดเหยียดกล้ามเนื้อจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไม้พลองขึ้นเพื่อรองรับสมาชิกใหม่ ที่ย่างเข้าสู่วัยสูงอายุได้หันมาตระหนักถึงสุขภาพของตนเองในโรคที่กำลังจะเกิดขึ้นกับคนส่วนใหญ่หรือเกิดขึ้นแล้ว เพื่อได้รับการบำบัดรักษาโดยการออกกำลังกายที่เหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า
- เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ และสุขภาพจิตทีดีขึ้น และขยายผลสู่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดซื้อไม้พลองและดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย รำไม้พลอง
- จัดซื้อไม้พลองและดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย รำไม้พลอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า
มีความรู้ความเข้าใจ โดยการฝึกการรำไม้พลอง จำนวน 12 ท่า ในการยืดเหยียดกล้ามเนื้อที่ถูกต้อง
มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ และสุขภาพจิตทีดีขึ้น และขยายผลสู่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ และสุขภาพจิตทีดีขึ้น และขยายผลสู่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า (3) เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ และสุขภาพจิตทีดีขึ้น และขยายผลสู่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อไม้พลองและดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย รำไม้พลอง (2) จัดซื้อไม้พลองและดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย รำไม้พลอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4140-2-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรินทร์ บุญอนันต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568 ”
ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางรินทร์ บุญอนันต์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4140-2-7 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4140-2-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาวะการณ์สังคมไทยในปัจจุบัน ผู้ป่วยสูงอายุมักมีปัญหาเรื่อง "ปวดหลัง" ซึ่งมักได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นจากกระดูกสันหลังเสื่อมซึ่งผู้ป่วยหลายท่านจะรู้สึกท้อแท้ เพราะรู้สึกว่า การเสื่อมสภาพตามวัยแบบนี้ ไม่มีทางดีขึ้นได้ เป็นเรื่องธรรมชาติที่ต้อง "ปลง" การที่ผู้ป่วยสูงอายุมีอาการปวดหลังนั้น สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากความ "ติดแข็ง" (Stiff) ของเนื้อเยื่อรอบๆกระดูกสันหลังเช่นการติดแข็งของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น มากกว่าที่จะปวดจากกระดูกสันหลังจริงๆ ปัญหาใหญ่คือการทำให้ผู้ป่วยเปลี่ยนทัศนคติที่จะรักษาตัวเองจากการกินยา หรือนอนให้หมอผ่าตัด มาเป็นการรักษาอาการปวดด้วยตัวเองด้วยการออกกำลังกาย โดยท่ารำไม้พลอง ซึ่งหลังจากการได้ออกกำลังกาย ที่เหมาะสม ส่วนใหญ่มีอาการปวดหลังน้อยลงมากจนสามารถหยุดยาแก้ปวดได้มีความอ่อนตัว ของกระดูกสันหลัง มากขึ้น ผู้ป่วยมีความรู้สึกว่าหลังคดน้อยลง เดินได้ดีขึ้นสุขภาพโดยทั่วไปดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งผลที่ได้นับว่า ปลอดภัยดีกว่าการไปเสี่ยงกับการผ่าตัดให้กระดูกสันหลังตรงโดยใช้โลหะซึ่งเป็นทางเลือกสุดท้าย กรณีศึกษา รายป้าบุญมี เครือรัตน์ นับเป็นผู้หนึ่งที่ปฏิวัติวิธีการออกกำลังกายของผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังเรื้อรังจากกระดูกเสื่อม คุณป้ามีประวัติที่น่าสนใจมากท่านเป็นหนึ่งในผู้ป่วยที่มีปวดหลังเรื้อรังมานานหลายสิบปี มีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดเพชรบุรี คุณป้ามีความทุกข์ทรมาณมากจากการปวดหลังโดยต้องรับประทานยาเป็นประจำ จนเกิดปัญหาข้างเคียงจากยาแก้ปวดมีความท้อแท้มากจนไม่อยากทำงาน ไม่อยากออกจากบ้าน จนมาวันหนึ่ง ท่านเห็นเศษท่อนไม้ที่ถูกทิ้งไว้กองสุมกันอยู่ท่านลองเอาไม้มาแกว่งไปมา ลองดัดกับลำตัว ปรากฎว่าวันต่อมาอาการปวดหลังของท่านดีขึ้น ป้าบุญมีจึงลองทำการออกกำลังกายด้วยไม้ต่อเป็นประจำ จนคิดท่าต่างๆได้ถึง 12 ท่า เป็นท่า "รำไม้พลอง" ของป้าบุญมีผลจากการออกกำลังกายนี้ ทำให้ป้าบุญมีสามารถหยุดยาแก้ปวดหลังได้ทั้งหมดอย่างไม่น่าเชื่อมีชีวิตกลับมาปกติ ออกไปทำงานนอกบ้านไปอยู่ในสังคมภายนอกได้ ไม่ต้องเสี่ยงต่อปัญหาข้างเคียง ของยาแก้ปวดไม่ต้อถูกผ่าตัด ข่าวการรักษาตัวเองด้วยไม้พลองของป้าบุญมีได้แพร่หลายขึ้นไปสู่ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขได้มีการวิจัยและพัฒนาจนพิสูจน์ได้แล้วว่าการออกกำลังกายวิธีนี้มีประโยชน์จริงต่อผู้ป่วยปวดหลัง ในผู้สูงอายุ จนต้องจดลิขสิทธิ์เป็นของไทยเนื่องจากมีต่างประเทศพยายามมาลอกเลียนและจดลิขสิทธิ์ ว่าเป็นของต่างประเทศ ทาง อสม. หมู่ 3 บ้านพรุ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายโดยใช้ไม้พลองในการบำบัดฟื้นฟู ให้กับผู้ที่มีปัญหาเรื่องกระดูก อาการปวดเมื่อยโดยมีท่าบริหารจำนวน 12 ท่าเป็นพื้นฐานในการบริหาร ยืดเหยียดกล้ามเนื้อจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไม้พลองขึ้นเพื่อรองรับสมาชิกใหม่ ที่ย่างเข้าสู่วัยสูงอายุได้หันมาตระหนักถึงสุขภาพของตนเองในโรคที่กำลังจะเกิดขึ้นกับคนส่วนใหญ่หรือเกิดขึ้นแล้ว เพื่อได้รับการบำบัดรักษาโดยการออกกำลังกายที่เหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า
- เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ และสุขภาพจิตทีดีขึ้น และขยายผลสู่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดซื้อไม้พลองและดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย รำไม้พลอง
- จัดซื้อไม้พลองและดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย รำไม้พลอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า
มีความรู้ความเข้าใจ โดยการฝึกการรำไม้พลอง จำนวน 12 ท่า ในการยืดเหยียดกล้ามเนื้อที่ถูกต้อง
มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ และสุขภาพจิตทีดีขึ้น และขยายผลสู่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ และสุขภาพจิตทีดีขึ้น และขยายผลสู่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์การการท่ารำไม้พลองในแต่ละท่า (3) เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ และสุขภาพจิตทีดีขึ้น และขยายผลสู่ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อไม้พลองและดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย รำไม้พลอง (2) จัดซื้อไม้พลองและดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกาย รำไม้พลอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4140-2-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรินทร์ บุญอนันต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......