โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปัณฑิตา ชัยวนนท์ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-02 เลขที่ข้อตกลง 29/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 346,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคน การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และการมีสุขภาพที่ดียังเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย การดำรงชีวิตในปัจจุบันต้องเผชิญกับปัญหามลพิษต่างๆ มากมาย รวมทั้งผลกระทบจากการทำงาน ที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายโดยที่เราไม่ทันรู้ตัว การหลบซ่อนของอาการบางอย่างที่ยังไม่แสดงออกมาให้เห็น หรือเมื่อทราบก็สายเกินกว่าจะแก้ไข ดังนั้น การตรวจสุขภาพประจำปีจึงเป็นการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคหรือความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก อีกทั้งเป็นการเฝ้าระวังการเกิดโรค การลดความรุนแรงของโรคและยังสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการที่อาจเกิดขึ้นได้ ตลอดจนสามารถให้การรักษาตั้งแต่อาการยังไม่รุนแรงและหายจากอาการของโรคได้
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด กวาดขยะ มูลฝอย การเก็บขนขยะมูลฝอย การปฏิบัติงานเป็นระยะเวลานานทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของคนทำงาน ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2568. งานรักษาความสะอาด ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการขึ้น เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพและได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีเพื่อสร้างความตระหนัก ให้บุคลากรดูแลสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้นจำนวน 270 คน โดยแบ่งกิจกรรมออกเป็น 2 กิจกรรม กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 285 คน และกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ แก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน จำนวน 240 คน โดยสามารถแบ่งกลุ่มความเสี่ยงตามหัวข้อการตรวจสุขภาพได้ 4 กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มความเสี่ยงทางระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Risk) ได้แก่ การตรวจความดันโลหิต (Blood Pressure) , การตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipids) , การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose) , การตรวจระดับกรดยูริคในเลือด (Uric Acid) โดยกลุ่มความเสี่ยงนี้มีโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Artery Disease), โรคหัวใจล้มเหลว (Heart Failure), โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke), ไตวาย (Kidney Failure) และโรคเกาต์ เป็นต้น
2. กลุ่มความเสี่ยงทางระบบไตและตับ (Renal and Hepatic Risk) การทำงานของไต (Kidney Function) , การทำงานของตับ (Liver Function โดยกลุ่มความเสี่ยงนี้มีโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease), ไตวาย (Kidney Failure), โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic Nephropathy) โรคตับ (Liver Disease), ตับอักเสบ (Hepatitis), ตับแข็ง (Cirrhosis), มะเร็งตับ (Liver Cancer), โรคไขมันพอกตับ (Fatty Liver Disease) เป็นต้น
3. กลุ่มความเสี่ยงทางระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Risk) ได้แก่ การตรวจอุจจาระ (Stool Test): โดยกลุ่มความเสี่ยงนี้มีโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคมะเร็งลำไส้ (Colorectal Cancer), การติดเชื้อในลำไส้ (Gastrointestinal Infection), โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoids), แผลในลำไส้ (Peptic Ulcer Disease) เป็นต้น
4. กลุ่มความเสี่ยงทางระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Risk) ได้แก่ การ X-Ray ปอด (Chest X-ray): โดยกลุ่มความเสี่ยงนี้มีโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคมะเร็งปอด (Lung Cancer), โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หรือการติดเชื้อ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease - COPD), โรคปอดบวม (Pneumonia), วัณโรคปอด (Tuberculosis), โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema) เป็นต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อประเมินระดับภาวะสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย
- 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย
- 3. เพื่อให้สุขศึกษาในการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี
- 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ แก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน
- ค่าตรวจสุขภาพพนักงานจ้าง
- ค่าอาหารเช้าสำหรับผู้รับบริการตรวจสุขภาพ
- ค่าอาหารเช้าสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าจัดทำรูปเล่ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
270
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10.๑ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
10.2 กลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับ การดูแลรักษาที่ถูกต้อง
10.3 กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะ พร้อมที่จะปฏิบัติงานให้อย่างเต็มที่และมีศักยภาพและมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อประเมินระดับภาวะสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : 1. พนักงานจ้างเหมาบริการได้รับการตรวจและทราบผลการตรวจสุขภาพ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
80.00
2
2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : 2. พนักงานจ้างเหมาบริการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
80.00
3
3. เพื่อให้สุขศึกษาในการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง
ตัวชี้วัด : 3. พนักงานจ้างเหมาบริการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
270
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
270
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อประเมินระดับภาวะสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย (2) 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย (3) 3. เพื่อให้สุขศึกษาในการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี (2) 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ แก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน (3) ค่าตรวจสุขภาพพนักงานจ้าง (4) ค่าอาหารเช้าสำหรับผู้รับบริการตรวจสุขภาพ (5) ค่าอาหารเช้าสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ (6) ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม (8) ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม (9) ค่าตอบแทนวิทยากร (10) ค่าจัดทำรูปเล่ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปัณฑิตา ชัยวนนท์ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปัณฑิตา ชัยวนนท์ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-02 เลขที่ข้อตกลง 29/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 346,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคน การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และการมีสุขภาพที่ดียังเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย การดำรงชีวิตในปัจจุบันต้องเผชิญกับปัญหามลพิษต่างๆ มากมาย รวมทั้งผลกระทบจากการทำงาน ที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายโดยที่เราไม่ทันรู้ตัว การหลบซ่อนของอาการบางอย่างที่ยังไม่แสดงออกมาให้เห็น หรือเมื่อทราบก็สายเกินกว่าจะแก้ไข ดังนั้น การตรวจสุขภาพประจำปีจึงเป็นการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคหรือความผิดปกติตั้งแต่ระยะเริ่มแรก อีกทั้งเป็นการเฝ้าระวังการเกิดโรค การลดความรุนแรงของโรคและยังสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการที่อาจเกิดขึ้นได้ ตลอดจนสามารถให้การรักษาตั้งแต่อาการยังไม่รุนแรงและหายจากอาการของโรคได้
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด กวาดขยะ มูลฝอย การเก็บขนขยะมูลฝอย การปฏิบัติงานเป็นระยะเวลานานทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของคนทำงาน ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2568. งานรักษาความสะอาด ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการขึ้น เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพและได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีเพื่อสร้างความตระหนัก ให้บุคลากรดูแลสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้นจำนวน 270 คน โดยแบ่งกิจกรรมออกเป็น 2 กิจกรรม กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 285 คน และกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ แก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน จำนวน 240 คน โดยสามารถแบ่งกลุ่มความเสี่ยงตามหัวข้อการตรวจสุขภาพได้ 4 กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มความเสี่ยงทางระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Risk) ได้แก่ การตรวจความดันโลหิต (Blood Pressure) , การตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipids) , การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose) , การตรวจระดับกรดยูริคในเลือด (Uric Acid) โดยกลุ่มความเสี่ยงนี้มีโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Artery Disease), โรคหัวใจล้มเหลว (Heart Failure), โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke), ไตวาย (Kidney Failure) และโรคเกาต์ เป็นต้น
2. กลุ่มความเสี่ยงทางระบบไตและตับ (Renal and Hepatic Risk) การทำงานของไต (Kidney Function) , การทำงานของตับ (Liver Function โดยกลุ่มความเสี่ยงนี้มีโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease), ไตวาย (Kidney Failure), โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic Nephropathy) โรคตับ (Liver Disease), ตับอักเสบ (Hepatitis), ตับแข็ง (Cirrhosis), มะเร็งตับ (Liver Cancer), โรคไขมันพอกตับ (Fatty Liver Disease) เป็นต้น
3. กลุ่มความเสี่ยงทางระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal Risk) ได้แก่ การตรวจอุจจาระ (Stool Test): โดยกลุ่มความเสี่ยงนี้มีโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคมะเร็งลำไส้ (Colorectal Cancer), การติดเชื้อในลำไส้ (Gastrointestinal Infection), โรคริดสีดวงทวาร (Hemorrhoids), แผลในลำไส้ (Peptic Ulcer Disease) เป็นต้น
4. กลุ่มความเสี่ยงทางระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Risk) ได้แก่ การ X-Ray ปอด (Chest X-ray): โดยกลุ่มความเสี่ยงนี้มีโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคมะเร็งปอด (Lung Cancer), โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หรือการติดเชื้อ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease - COPD), โรคปอดบวม (Pneumonia), วัณโรคปอด (Tuberculosis), โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema) เป็นต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อประเมินระดับภาวะสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย
- 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย
- 3. เพื่อให้สุขศึกษาในการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี
- 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ แก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน
- ค่าตรวจสุขภาพพนักงานจ้าง
- ค่าอาหารเช้าสำหรับผู้รับบริการตรวจสุขภาพ
- ค่าอาหารเช้าสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าจัดทำรูปเล่ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 270 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10.๑ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
10.2 กลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับ การดูแลรักษาที่ถูกต้อง
10.3 กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาวะ พร้อมที่จะปฏิบัติงานให้อย่างเต็มที่และมีศักยภาพและมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อประเมินระดับภาวะสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : 1. พนักงานจ้างเหมาบริการได้รับการตรวจและทราบผลการตรวจสุขภาพ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย |
80.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : 2. พนักงานจ้างเหมาบริการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย |
80.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้สุขศึกษาในการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง ตัวชี้วัด : 3. พนักงานจ้างเหมาบริการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 270 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 270 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อประเมินระดับภาวะสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย (2) 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย (3) 3. เพื่อให้สุขศึกษาในการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำปี (2) 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ แก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน (3) ค่าตรวจสุขภาพพนักงานจ้าง (4) ค่าอาหารเช้าสำหรับผู้รับบริการตรวจสุขภาพ (5) ค่าอาหารเช้าสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ (6) ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม (8) ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม (9) ค่าตอบแทนวิทยากร (10) ค่าจัดทำรูปเล่ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังภาวะทางสุขภาพของพนักงานจ้างเหมาบริการ งานรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปัณฑิตา ชัยวนนท์ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......