กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชมรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (ชมรมวู๊ดบอล) ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสุรศักดิ์ นกเพชร ตำแหน่ง ประธานชมรมวู๊ดบอลบ่อยาง




ชื่อโครงการ โครงการชมรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (ชมรมวู๊ดบอล)

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-28 เลขที่ข้อตกลง 30/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชมรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (ชมรมวู๊ดบอล) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชมรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (ชมรมวู๊ดบอล)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชมรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (ชมรมวู๊ดบอล) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดียังสามารถดำเนินควบคู่ไปกับวิถีชีวิตประจำวันของตนเองได้ตลอดช่วงชีวิต สิ่งสำคัญที่จะสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดีที่เป็นปัจจัยระดับบุคคลนั้นก็คือ การเสริมสร้างให้คนทุกกลุ่มวัยมีความรอบรู้ทางกาย (Physical literacy) ให้เพิ่มมากขึ้น และมีความเชื่อมโยงถึงการเรียนรู้ การใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวมผ่านการเคลื่อนไหวและมีกิจกรรมทางกาย ที่ส่งผลดีต่อสุขภาพร่างกาย จิตใจ สังคม รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดความรู้ความเข้าใจและความเป็นอยู่ที่ดีตลอดช่วงชีวิตของตนเองได้ การส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายให้กับทุกกลุ่มวัยต้องได้รับความรู้ พัฒนาศักยภาพ และยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเองผ่านการมีกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมสุขภาพที่ดี รวมทั้งสามารถขจัดปัญหาและอุปสรรคที่ปิดกั้นโอกาสในการจัดกิจกรรมทางกายได้ด้วยตนเอง และเข้าถึงการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เปรียบเสมือนต้นทุนที่ดีสำหรับการเสริมสร้างและคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพที่ดีของตัวเองไปตลอดชีวิต เทศบาลนครสงขลาเห็นความสำคัญของสมาชิกชมรมออกกำลังกาย และประชาชนทุกกลุ่มวัย
กีฬาวู้ดบอลเป็นกีฬาที่ไม่หักโหม ผู้เล่นสามารถเดินไปเล่นไป สนทนาแลกเปลี่ยนแนวคิดกัน ซึ่งนิยมเล่นเป็นกลุ่มๆ เหมาะสมกับผู้สูงวัยเพราะนอกจากจะส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดีแล้ว ยังฝึกสมาธิ การใช้ความคิดในการวางแผนการตีให้มีประสิทธิภาพ การรู้จักเข้าสังคมและช่วยสร้างเสริมสุขภาพจิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ประชาชนมีความรู้ ความสามารถในการสร้างสมรรถภาพร่างกาย ให้แข็งแรงสมบูรณ์ มีสุขภาพดี
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัยด้วยการออก กำลังกายรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (ชมรมวู๊ดบอล) จำนวน 3 วัน
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  3. ค่าอาหารกลางวัน
  4. ค่าตอบแทนวิทยากร
  5. ชุดเครื่องเสียงเคลื่อนที่
  6. ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น
  7. ค่าเอกสารสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สมาชิกในชมรมมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีสามารถดำรงชีวิตในสังคมด้วยความปกติสุข
  2. สมาชิกในชมรมมีการดำเนินงานที่เข้มแข็ง สร้างความผูกพันระหว่างสมาชิกในชมรม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ประชาชนมีความรู้ ความสามารถในการสร้างสมรรถภาพร่างกาย ให้แข็งแรงสมบูรณ์ มีสุขภาพดี
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ และเสริมสร้างร่างกายที่แข็งแรง
100.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัยด้วยการออก กำลังกายรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ประชาชนมีความรู้ ความสามารถในการสร้างสมรรถภาพร่างกาย    ให้แข็งแรงสมบูรณ์ มีสุขภาพดี (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัยด้วยการออก    กำลังกายรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (ชมรมวู๊ดบอล)  จำนวน 3 วัน (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าอาหารกลางวัน (4) ค่าตอบแทนวิทยากร (5) ชุดเครื่องเสียงเคลื่อนที่ (6) ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น (7) ค่าเอกสารสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชมรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (ชมรมวู๊ดบอล) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-28

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุรศักดิ์ นกเพชร ตำแหน่ง ประธานชมรมวู๊ดบอลบ่อยาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด