โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายจรัญ แก้วชูช่วย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่
ตุลาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68 - L3336-02-02 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68 - L3336-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันการดำเนินชีวิตของนักเรียนและผู้ปกครองต้องเร่งรีบในการทำกิจวัตรประจำวัน การบริโภคอาหารจึงไม่ค่อยให้ความสนใจและชอบบริการอาหารจานด่วน จานเดียวที่ง่าย ๆ และสะดวกต่อการบริโภค ซึ่งรูปแบบการใช้ชีวิตที่เร่งรีบนั้น สามารถนำมาสู่โรคอ้วน และโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ได้ไม่ใช่เฉพาะผู้ใหญ่วัยทำงานเท่านั้น แต่ยังพบว่าเป็นปัญหาในเด็กนักเรียนอีกด้วย ในประเทศไทยจากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในนักเรียน พบว่า เด็กไทยทุก ๆ 5 คน จะพบอย่างน้อย 1 คน ที่เป็นโรคอ้วน จากผลสรุปภาวะโภชนาการนักเรียนในโรงเรียนบ้านดอนประดู่ หมู่ที่ 4 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปีการศึกษา 2567 พบว่า เด็กนักเรียนมีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 12.31 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียนบ้านดอนประดู่ เนื่องจากโรคอ้วนเป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ ตามมาอีกมากมาย อาทิ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น นอกจากนี้ภาวะโรคอ้วน ยังมีผลกระทบต่อการเรียนของเด็กนักเรียนอีกด้วย โดยพบว่าเด็กอ้วนส่วนมาก มักมีปมด้อยจากรูปร่างของตัวเอง และมักถูกเพื่อน ๆ ล้อ ทำให้ไม่อยากไปโรงเรียน เบื่อการเรียนได้ ดังนั้นเด็ก ๆ ต้องได้รับข้อมูลและแนวทางในการปฏิบัติตัวทางด้านโภชนาการที่ถูกต้อง ดังนั้น ทางโรงเรียนบ้านดอนประดู่ จึงเห็นความสำคัญของนักเรียนเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี จึงจัดทำโครงการเพื่อกระตุ้นและสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียน ที่มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียน 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน3. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประชุมชี้แจงโครงการ
- กิจกรรมย่อย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการให้ความรู้แก่ครูและนักเรียนเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน
- กิจกรรมย่อย 3.1 อบรมให้ความรู้แก่ครูนักเรียน ผู้ปกครอง พ่อค้าแม่ค้า เรื่อง โภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียนและการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน
- ๒.สำรวจนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน
- 4. จัดซื้ออุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม
- ุ6. กิจกรรมสรุปผลโครงการ
- กิจกรรมย่อย 4.2 กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ได้แก่ เต้นแอโรบิค กีฬาแบดมินตัน เป็นต้น
- 2.1 กิจกรรมประเมินสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน ก่อนและหลังจัดกิจกรรม (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณภาวะโภชนาการ)
- กิจกรรมย่อย 6.1 กิจกรรมสรุปผลโครงการ
- 3.อบรมให้ความรู้ เรื่อง โภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียนและการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน
- 5.กิจกรรมประเมินผลหลังดำเนินกิจกรรม
- กิจกรรมย่อย 5.1 กิจกรรมประเมินสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน หลังจัดกิจกรรม (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณภาวะโภชนาการ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
17
กลุ่มวัยทำงาน
34
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการ
- นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน
- ปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนของนักเรียนลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียน 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน3. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียน และสามารถคำนวณภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100
นักเรียนสามารถออกกำลังกายได้ถูกต้องตามหลักวิชาการสำหรับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน ร้อยละ 80
นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วนลดลงร้อยละ10 ของนักเรียนที่มีภาวะดังกล่าว
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
51
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
17
กลุ่มวัยทำงาน
34
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียน 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน3. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมชี้แจงโครงการ (2) กิจกรรมย่อย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการให้ความรู้แก่ครูและนักเรียนเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน (3) กิจกรรมย่อย 3.1 อบรมให้ความรู้แก่ครูนักเรียน ผู้ปกครอง พ่อค้าแม่ค้า เรื่อง โภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียนและการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน (4) ๒.สำรวจนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน (5) 4. จัดซื้ออุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม (6) ุ6. กิจกรรมสรุปผลโครงการ (7) กิจกรรมย่อย 4.2 กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ได้แก่ เต้นแอโรบิค กีฬาแบดมินตัน เป็นต้น (8) 2.1 กิจกรรมประเมินสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน ก่อนและหลังจัดกิจกรรม (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณภาวะโภชนาการ) (9) กิจกรรมย่อย 6.1 กิจกรรมสรุปผลโครงการ (10) 3.อบรมให้ความรู้ เรื่อง โภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียนและการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน (11) 5.กิจกรรมประเมินผลหลังดำเนินกิจกรรม (12) กิจกรรมย่อย 5.1 กิจกรรมประเมินสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน หลังจัดกิจกรรม (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณภาวะโภชนาการ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68 - L3336-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายจรัญ แก้วชูช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายจรัญ แก้วชูช่วย
ตุลาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68 - L3336-02-02 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68 - L3336-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันการดำเนินชีวิตของนักเรียนและผู้ปกครองต้องเร่งรีบในการทำกิจวัตรประจำวัน การบริโภคอาหารจึงไม่ค่อยให้ความสนใจและชอบบริการอาหารจานด่วน จานเดียวที่ง่าย ๆ และสะดวกต่อการบริโภค ซึ่งรูปแบบการใช้ชีวิตที่เร่งรีบนั้น สามารถนำมาสู่โรคอ้วน และโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ได้ไม่ใช่เฉพาะผู้ใหญ่วัยทำงานเท่านั้น แต่ยังพบว่าเป็นปัญหาในเด็กนักเรียนอีกด้วย ในประเทศไทยจากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในนักเรียน พบว่า เด็กไทยทุก ๆ 5 คน จะพบอย่างน้อย 1 คน ที่เป็นโรคอ้วน จากผลสรุปภาวะโภชนาการนักเรียนในโรงเรียนบ้านดอนประดู่ หมู่ที่ 4 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปีการศึกษา 2567 พบว่า เด็กนักเรียนมีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 12.31 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดในโรงเรียนบ้านดอนประดู่ เนื่องจากโรคอ้วนเป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ ตามมาอีกมากมาย อาทิ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น นอกจากนี้ภาวะโรคอ้วน ยังมีผลกระทบต่อการเรียนของเด็กนักเรียนอีกด้วย โดยพบว่าเด็กอ้วนส่วนมาก มักมีปมด้อยจากรูปร่างของตัวเอง และมักถูกเพื่อน ๆ ล้อ ทำให้ไม่อยากไปโรงเรียน เบื่อการเรียนได้ ดังนั้นเด็ก ๆ ต้องได้รับข้อมูลและแนวทางในการปฏิบัติตัวทางด้านโภชนาการที่ถูกต้อง ดังนั้น ทางโรงเรียนบ้านดอนประดู่ จึงเห็นความสำคัญของนักเรียนเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี จึงจัดทำโครงการเพื่อกระตุ้นและสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียน ที่มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียน 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน3. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประชุมชี้แจงโครงการ
- กิจกรรมย่อย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการให้ความรู้แก่ครูและนักเรียนเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน
- กิจกรรมย่อย 3.1 อบรมให้ความรู้แก่ครูนักเรียน ผู้ปกครอง พ่อค้าแม่ค้า เรื่อง โภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียนและการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน
- ๒.สำรวจนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน
- 4. จัดซื้ออุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม
- ุ6. กิจกรรมสรุปผลโครงการ
- กิจกรรมย่อย 4.2 กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ได้แก่ เต้นแอโรบิค กีฬาแบดมินตัน เป็นต้น
- 2.1 กิจกรรมประเมินสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน ก่อนและหลังจัดกิจกรรม (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณภาวะโภชนาการ)
- กิจกรรมย่อย 6.1 กิจกรรมสรุปผลโครงการ
- 3.อบรมให้ความรู้ เรื่อง โภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียนและการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน
- 5.กิจกรรมประเมินผลหลังดำเนินกิจกรรม
- กิจกรรมย่อย 5.1 กิจกรรมประเมินสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน หลังจัดกิจกรรม (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณภาวะโภชนาการ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 17 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 34 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการ
- นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน
- ปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนของนักเรียนลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียน 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน3. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียน และสามารถคำนวณภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 นักเรียนสามารถออกกำลังกายได้ถูกต้องตามหลักวิชาการสำหรับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วนลดลงร้อยละ10 ของนักเรียนที่มีภาวะดังกล่าว |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 51 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 17 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 34 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและพ่อค้าแม่ค้า มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียน 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน3. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมชี้แจงโครงการ (2) กิจกรรมย่อย 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการให้ความรู้แก่ครูและนักเรียนเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน (3) กิจกรรมย่อย 3.1 อบรมให้ความรู้แก่ครูนักเรียน ผู้ปกครอง พ่อค้าแม่ค้า เรื่อง โภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียนและการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน (4) ๒.สำรวจนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน/โรคอ้วนหรือเริ่มอ้วน (5) 4. จัดซื้ออุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม (6) ุ6. กิจกรรมสรุปผลโครงการ (7) กิจกรรมย่อย 4.2 กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ได้แก่ เต้นแอโรบิค กีฬาแบดมินตัน เป็นต้น (8) 2.1 กิจกรรมประเมินสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน ก่อนและหลังจัดกิจกรรม (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณภาวะโภชนาการ) (9) กิจกรรมย่อย 6.1 กิจกรรมสรุปผลโครงการ (10) 3.อบรมให้ความรู้ เรื่อง โภชนาการและภาวะทุพโภชนาการสำหรับวัยเรียนและการออกกำลังกายสำหรับวัยเรียน (11) 5.กิจกรรมประเมินผลหลังดำเนินกิจกรรม (12) กิจกรรมย่อย 5.1 กิจกรรมประเมินสุขภาพนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน หลังจัดกิจกรรม (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณภาวะโภชนาการ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กไทยไร้พุง ห่างไกลโรค จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68 - L3336-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายจรัญ แก้วชูช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......