โครงการร้านชำคุณภาพ ปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการร้านชำคุณภาพ ปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L5199-02-14 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าประดู่ |
วันที่อนุมัติ | 2 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 7,890.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสมใจ บุญเอื้อ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสาวอังสนา บิลรัตแก้ว |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 2 เม.ย. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 7,890.00 | |||
รวมงบประมาณ | 7,890.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 62 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ซึ่ง ส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสินและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสาร สเตียรอยด์ เครื่องลำอางมีสารอันตราย อาหารมีสาร ปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อ การให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคล ทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง ตำบลท่าประดู่ มีสถานประกอบการต่างๆๆจำนวนมาก เช่น ร้านอาหาร ร้านแผงลอย รถเร่ขายยา ตลาดนัด ร้านชาย ของชำในหมู่บ้านประกอบกับในยุคปัจจุจจุบันบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การโฆษณาชวนเชื่อ ต่างๆเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว จึงมีความสะดวกในการซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆโดยเฉพาะการเลือกชื่อผลิตภัณฑ์ สุขภาพจากร้านชำในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ตอบสนองต่อ ความต้องการของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยาหรือของใช้ต่างๆ เครื่องอุปโภค บริโภค ซึ่งหากผู้บริโภค ในพื้นที่ยังมีความเชื่อความเข้าใจที่ผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกชื่อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอับอันตรายจากอุบโภคและบริโภคผลิตภัตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐานได้ง่าย ในการนี้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าประตูได้เล็งเห็นว่าการพัฒนาร้าน ขายของชำโนหมู่บ้านจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยลดน้อยลงไปได้ จึง ได้จัดทำโครงการร้านชำคุณภาพ ผู้บริโภคปลอดภัย เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่มีความรู้และมีทักษะในการเลือกชื้อสินค้า ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีสารเคมีอันตรายเจือปนอยู่ มีการสำรวจเฝ้าระวังเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภค ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้านชายของชำได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ ส่งผลให้ผู้บริโภคมีความ ปลอดภัย จากการอุปโภคและบริโภคผลิตภัตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดโรค การแพ้และอันตรายต่อสุขภาพ ของคนในพื้นที่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 7,890.00 | 0 | 0.00 | |
17 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการคุ้มครองผู้บริโภค | 0 | 6,940.00 | - | ||
17 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมตรวจและพัฒนาร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐาน | 0 | 950.00 | - |
1.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ตัวแทนผู้บริโภค และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสำอาง 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำสามารถเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ยา เครื่องสำอางที่มีคุณภาพจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน 3.เพื่อพัฒนาร้านชำให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2568 00:00 น.