โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง |
รหัสโครงการ | 68-L4131-02-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อสม. หมู่ 4 ตำบลอัยเยอร์เวง |
วันที่อนุมัติ | 19 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 23,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวอาแอเสาะ มามุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสาวบุสริน ดือเระ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.963,101.398place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 90 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชาชนบ้านธารมะลิ พบว่าปัญหาสุขภาพต่างๆ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือกสูง ยังเป็นปัญหาในชุมชน และมีปัจจัยความเสี่ยงที่จากการละเลยการตรวจสุขภาพ ซึ่งปัญหาสำคัญหลักๆ คือ 1. บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2. ขาดแรงจูงใจและแรงสนับสนุนการผู้นำชุมชุน 3. ปัญหาในเรื่องอุปสรรคด้านเวลาเพราะอุปกรณ์ไม่เพียงพอกับกลุ่มเป้าหมาย
องค์ประกอบพื้นฐาน ได้แก่ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายเครียด การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเอง เพื่อเสริมสร้างสุขภาพชุมชนบ้านธารมะลิ การที่ประชาชนทุกคนมีสุขภาพที่ดีนั้น ประชาชนจะต้องพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้ อ.ส.ม. ในฐานะที่เป็นบุคลกรด้านสุขภาพ ควรตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ควรให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก
ดังนั้น อ.ส.ม. บ้านธารมะลิได้ตระหนักถึงความสำคัญด้านสุขภาพในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยการผสมผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชน และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูและสุขภาพตนเองเพื่อนำไปสู้การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่ยังยืน และเนื่องด้วยเขตพื้นที่รับผิดชอบกว้างและมีประชากรมากทำให้เครื่องมือที่มีอยู่ไม่เพียงพอในการตรวจคัดกรองโรคฯ จึงได้มีแนวคิดในการจัดโครงการดังกล่าว ที่ครอบคลุมเกี่ยวกับการให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองในชุมชนต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรคต่างๆ ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น |
100.00 | |
2 | เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ และคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง แก่ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับแจ้งผลการตรวจและคำแนะนำในการไปพบแพทย์เพื่อการรักษาต่อไป |
100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 23,100.00 | 0 | 0.00 | 23,100.00 | |
1 ส.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้ | 0 | 23,100.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 23,100.00 | 0 | 0.00 | 23,100.00 |
- ประชาชนธารมะลิได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเคียด อาหาร และการป้องกันโรคต่างๆ
- ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริม สุขภาพในการป้องการโรคมากขึ้น 3 .ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้ 4. ผู้ที่เข้าร่วมรับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลตัวเองและป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
- ประชาชนมีสุขภาพร่างกายทีสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่ปรารถนา 6. อสม.ได้มีการติดตามกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2568 11:18 น.