โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายปรวี ศิริยะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3336-02-05 เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3336-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,010.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความรุนแรงของโรคฟันผุของเด็กไทยรุนแรงขึ้น ทุกปีเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องเพราะผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กยังไม่เห็นความสำคัญใน เรื่องการดูแลอนามัยในช่องปาก ซึ่งปัญหานี้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็กในหลาย ๆ ด้านทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการศึกษาของเด็กด้วยสุขภาพอนามัยที่ดี เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ และจำเป็นของชีวิตเด็กเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งของสังคม ทั้งนี้ความเจริญของสังคมย่อมขึ้นกับประสิทธิภาพของเด็กที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต่อไปการที่เด็กมีสุขภาพที่ดีจะเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน“ ทันตสุขภาพ” เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพอนามัยการที่มีทันตสุขภาพที่ดีปราศจากโรคในช่องปากฟันทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์จะส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีด้วยเด็กวัยเรียน เป็นวัยที่มีฟันน้ำนมขึ้นมาครบทุกซี่แล้วโรคในช่องปากที่เป็นปัญหาของเด็กในวัยนี้คือโรคฟันผุการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดมีผลเสียต่อบุคลิกภาพการบดเคี้ยวการเจริญเติบโต ของขากรรไกรตลอดจนการเรียงตัวของฟันถาวรที่จะขึ้นมาแทนที่ก็จะมีผลกระทบต่ออนามัยในช่องปากของเด็กนอกจากนี้ ปัจจัยของการเกิดปัญหาโรคฟันผุของเด็กวัยเรียน คือ ครู ซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญ ต่อการดูแลสุขภาพช่องปากการส่งเสริมให้นักเรียน มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอ และสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน 4. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจช่องปาก
- 1.1 กิจกรรมย่อย - อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและโภชนาการเกี่ยวกับสุขภาพ 1.2 กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน - เปิดเพลงแปรงฟันในช่วงเสียงตามสายทุกวัน - มีการบันทึกการแปรงฟันทุกวันของแต่ละห้อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
115
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก
- นักเรียน มีมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน
- นักเรียน แปรงฟันหลังรับประทานอาหารเป็นประจำทุกวัน
- นักเรียน มีปัญหาฟันผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน 4. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. นักเรียน ร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก
2. นักเรียน ร้อยละ ๘๐ มีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน
3. นักเรียน ร้อยละ ๘๐ แปรงฟันหลังรับประทานอาหารเป็นประจำทุกวัน
4. นักเรียน ร้อยละ ๘๐ มีปัญหาฟันผุลดลง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
115
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
115
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน 4. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจช่องปาก (2) 1.1 กิจกรรมย่อย - อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและโภชนาการเกี่ยวกับสุขภาพ 1.2 กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน - เปิดเพลงแปรงฟันในช่วงเสียงตามสายทุกวัน - มีการบันทึกการแปรงฟันทุกวันของแต่ละห้อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3336-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายปรวี ศิริยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายปรวี ศิริยะ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3336-02-05 เลขที่ข้อตกลง 16/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3336-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,010.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความรุนแรงของโรคฟันผุของเด็กไทยรุนแรงขึ้น ทุกปีเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องเพราะผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กยังไม่เห็นความสำคัญใน เรื่องการดูแลอนามัยในช่องปาก ซึ่งปัญหานี้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็กในหลาย ๆ ด้านทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการศึกษาของเด็กด้วยสุขภาพอนามัยที่ดี เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ และจำเป็นของชีวิตเด็กเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งของสังคม ทั้งนี้ความเจริญของสังคมย่อมขึ้นกับประสิทธิภาพของเด็กที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต่อไปการที่เด็กมีสุขภาพที่ดีจะเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน“ ทันตสุขภาพ” เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพอนามัยการที่มีทันตสุขภาพที่ดีปราศจากโรคในช่องปากฟันทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์จะส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีด้วยเด็กวัยเรียน เป็นวัยที่มีฟันน้ำนมขึ้นมาครบทุกซี่แล้วโรคในช่องปากที่เป็นปัญหาของเด็กในวัยนี้คือโรคฟันผุการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดมีผลเสียต่อบุคลิกภาพการบดเคี้ยวการเจริญเติบโต ของขากรรไกรตลอดจนการเรียงตัวของฟันถาวรที่จะขึ้นมาแทนที่ก็จะมีผลกระทบต่ออนามัยในช่องปากของเด็กนอกจากนี้ ปัจจัยของการเกิดปัญหาโรคฟันผุของเด็กวัยเรียน คือ ครู ซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญ ต่อการดูแลสุขภาพช่องปากการส่งเสริมให้นักเรียน มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอ และสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน 4. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจช่องปาก
- 1.1 กิจกรรมย่อย - อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและโภชนาการเกี่ยวกับสุขภาพ 1.2 กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน - เปิดเพลงแปรงฟันในช่วงเสียงตามสายทุกวัน - มีการบันทึกการแปรงฟันทุกวันของแต่ละห้อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 115 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก
- นักเรียน มีมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน
- นักเรียน แปรงฟันหลังรับประทานอาหารเป็นประจำทุกวัน
- นักเรียน มีปัญหาฟันผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน 4. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. นักเรียน ร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก 2. นักเรียน ร้อยละ ๘๐ มีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน 3. นักเรียน ร้อยละ ๘๐ แปรงฟันหลังรับประทานอาหารเป็นประจำทุกวัน 4. นักเรียน ร้อยละ ๘๐ มีปัญหาฟันผุลดลง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 115 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 115 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีขึ้นในการดูลสุขภาพช่องปาก 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน 4. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจช่องปาก (2) 1.1 กิจกรรมย่อย - อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและโภชนาการเกี่ยวกับสุขภาพ 1.2 กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน - เปิดเพลงแปรงฟันในช่วงเสียงตามสายทุกวัน - มีการบันทึกการแปรงฟันทุกวันของแต่ละห้อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการวัยเรียน วัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3336-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายปรวี ศิริยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......