โรงเรียนปลอดขยะ (Zero waste school) โรงเรียนชุมชนบ้านปาตา ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โรงเรียนปลอดขยะ (Zero waste school) โรงเรียนชุมชนบ้านปาตา ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L8420-02-08 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนชุมชนบ้านปาตา |
วันที่อนุมัติ | 22 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 16,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมะรูดิง อาลี |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางวรรณาพร บัวสุวรรณ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.892868,101.356457place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 290 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 35 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน | 80.00 | ||
2 | ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ | 10.00 | ||
3 | ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า | 10.00 | ||
4 | ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า | 5.00 | ||
5 | ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ | 5.00 | ||
6 | จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน | 5.00 | ||
7 | ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ขยะ เป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชนและโรงเรียนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2559-2564) ตามนโยบายของรัฐบาลในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึก และรณรงค์การคัดแยกขยะ ประเภทขยะมูลฝอยที่ต้นทางให้แก่นักเรียนและเยาวชนในโรงเรียนและสถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดและจากที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 จึงขอความร่วมมือจากทางโรงเรียนทุกโรงเรียนให้จัดกิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะมูลฝอยในสถานศึกษาอีกด้วย โรงเรียนชุมชนบ้านปาตา ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ มีจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น433คน เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกล่าวจึงจัดทำโครงการ “โรงเรียนปลอดขยะ (Zero waste school)” ขึ้น ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกจิตสำนึกการลดคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในโรงเรียน รวมทั้งการรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย ร้อยละเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย 80 |
50.00 | 80.00 |
2 | เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ร้อยละเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ 80 |
40.00 | 80.00 |
3 | เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษา และชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยทั้งในและนอกโรงเรียนให้สะอาดและน่าอยู่ ร้อยละสร้างความตระหนักให้นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษา และชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยทั้งในและนอกโรงเรียนให้สะอาดและน่าอยู่ 80 |
50.00 | 80.00 |
4 | เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน |
80.00 | 40.00 |
5 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ |
10.00 | 20.00 |
6 | เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน |
5.00 | 10.00 |
7 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า |
10.00 | 20.00 |
8 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ |
5.00 | 10.00 |
9 | เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ |
1.00 | 4.00 |
10 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า |
5.00 | 10.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | เดินรณรงค์การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน | 0 | 15,975.00 | - | ||
1 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | การอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องขยะและการคัดแยกขยะ | 0 | 0.00 | - | ||
1 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | บ้านต้นแบบ สะอาด น่าอยู่ | 0 | 125.00 | - | ||
1 - 30 ก.ย. 68 | ถอดบทเรียน และติดตามผลการดำเนินงานโครงการ | 0 | 0.00 | - | ||
รวม | 0 | 16,100.00 | 0 | 0.00 |
1.ครูนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา สามารถคัดแยกขยะ นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ และปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง
2. นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษา ชุมชน มีระบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
3. โรงเรียน ชุมชน มีสภาพแวดล้อมที่สะอาด น่าอยู่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2568 14:16 น.