โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประเสริฐ เอียดปุ่ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในยุคปัจจุบันนั้นถือว่าผลิตภัณฑ์สุขภาพเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก ซึ่งผลิตภัณฑ์สุขภาพอันได้แก่ อาหาร ยา เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุเสพติด และวัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน และเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีกฎหมายควบคุมกำกับอย่างชัดเจน ผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งจำเป็นที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้บริโภคจะต้องสัมผัสและบริโภคทุกวัน ดังนั้น การบริโภคอย่างปลอดภัยและเป็นประโยชน์ต่อร่างกายจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการส่งเสริมการค้าเสรี ผู้ประกอบธุรกิจมีจำนวนมาก ทำให้เกิดการแข่งขันทาง การค้าสูง ผู้ประกอบการพยายามผลิตและพัฒนาสินค้าเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค รวมถึงมีการ สร้างแรงจูงใจเพื่อดึงดูดให้ผู้บริโภคหันมาใช้ผลิตภัณฑ์ของตน เพื่อให้มียอดจำหน่ายมากที่สุด
มีจากงานวิจัยของปนัดดา มหาสิงห์และคณะ ซึ่งได้ทำการวิจัยเรื่อง สถานการณ์ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อนสารห้ามใช้ที่เป็นอันตรายในเครื่องสำอางสำหรับผิวหน้าที่จำหน่ายในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเลย
พบว่า พบว่า เครื่องสำหรับผิวหน้ามีการปนเปื้อนสารห้ามใช้ที่เป็นอันตราย ร้อยละ 56.67 โดยสารที่พบการปนเปื้อนมากที่สุด คือ สเตียรอยด์ (ร้อยละ36.67) และจากงานวิจัยของเกษร ประสงค์กูล และคณะ ซึ่งได้ทำการวิจัย เรื่อง การวิเคราะห์สถานการณ์การปนเปื้อนสารห้ามใช้ที่เป็นสารห้ามใช้ที่เป็นอันตรายในเครื่องสำอางสำหรับผิวหน้าในเขตอำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ระหว่างปี พ.ศ.2556 - 2589 ซึ่ง ผู้วิจัยได้ทำการตรวจและวิเคราะห์ เครื่องสำอางที่มีฉลากไม่ถูกต้องจำนวน 143 ตัวอย่าง พบว่า พบเครื่องสำอางที่ฉลากไม่ถูกต้องหรือเครื่องสำอางอันตรายตาม ประกาศฯ ร้อยละ 95.65 , 80.39 และ 70 ของการตรวจ ตามลำดับ ตัวอย่างเครื่องสำอางร้อยละ 54.55 การทดสอบปรอทและ
สารประกอบของปรอท กรดเรทิโนอิก และไฮโดรควิโนนในร้อยละ 35.66 18.18 และ 11.89 ของเครื่องสำอางที่ตรวจ ตามลำดับ
และในสถานการณ์ปัจจุบัน พบว่า สื่อสังคมโซเชียลมีเดีย เข้ามามีอิทธิพลในการเลือกซื้อสิงค้าแก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย ทั้งในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งผลิตภัณฑ์ต่างๆ มีทั้งที่ได้มาตรฐาน และไม่ได้รับมาตรฐาน ทั้งนี้ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง มีความประสงค์ในการจัดโครงการโครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 เพื่อให้ประชาชนทั่วไป มีความรอบรู้ ความตระหนัก และเจตคติในเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สำรวจข้อมูล และการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่
- 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สาธิตประกอบการให้ความรู้ของวิทยากร
- 3 .รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ โดยมีการเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมาเป็นวิทยกรให้ความรู้ และตรวจเครื่องสำอาง โดยเจ้าหน้าที่ผู้ให้ความรู้
- 4. กิจกรรมอสม. นำร่องฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน กิจกรรมลงพื้นที่สุ่มตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ของพื้นที่หมู่ 1 8 9 และ 10 ตำบลดอนประดู่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนสามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจข้อมูล และการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ (2) 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สาธิตประกอบการให้ความรู้ของวิทยากร (3) 3 .รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ โดยมีการเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมาเป็นวิทยกรให้ความรู้ และตรวจเครื่องสำอาง โดยเจ้าหน้าที่ผู้ให้ความรู้ (4) 4. กิจกรรมอสม. นำร่องฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน กิจกรรมลงพื้นที่สุ่มตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ของพื้นที่หมู่ 1 8 9 และ 10 ตำบลดอนประดู่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประเสริฐ เอียดปุ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประเสริฐ เอียดปุ่ม
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในยุคปัจจุบันนั้นถือว่าผลิตภัณฑ์สุขภาพเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก ซึ่งผลิตภัณฑ์สุขภาพอันได้แก่ อาหาร ยา เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุเสพติด และวัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน และเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีกฎหมายควบคุมกำกับอย่างชัดเจน ผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งจำเป็นที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้บริโภคจะต้องสัมผัสและบริโภคทุกวัน ดังนั้น การบริโภคอย่างปลอดภัยและเป็นประโยชน์ต่อร่างกายจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการส่งเสริมการค้าเสรี ผู้ประกอบธุรกิจมีจำนวนมาก ทำให้เกิดการแข่งขันทาง การค้าสูง ผู้ประกอบการพยายามผลิตและพัฒนาสินค้าเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค รวมถึงมีการ สร้างแรงจูงใจเพื่อดึงดูดให้ผู้บริโภคหันมาใช้ผลิตภัณฑ์ของตน เพื่อให้มียอดจำหน่ายมากที่สุด
มีจากงานวิจัยของปนัดดา มหาสิงห์และคณะ ซึ่งได้ทำการวิจัยเรื่อง สถานการณ์ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อนสารห้ามใช้ที่เป็นอันตรายในเครื่องสำอางสำหรับผิวหน้าที่จำหน่ายในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเลย
พบว่า พบว่า เครื่องสำหรับผิวหน้ามีการปนเปื้อนสารห้ามใช้ที่เป็นอันตราย ร้อยละ 56.67 โดยสารที่พบการปนเปื้อนมากที่สุด คือ สเตียรอยด์ (ร้อยละ36.67) และจากงานวิจัยของเกษร ประสงค์กูล และคณะ ซึ่งได้ทำการวิจัย เรื่อง การวิเคราะห์สถานการณ์การปนเปื้อนสารห้ามใช้ที่เป็นสารห้ามใช้ที่เป็นอันตรายในเครื่องสำอางสำหรับผิวหน้าในเขตอำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ระหว่างปี พ.ศ.2556 - 2589 ซึ่ง ผู้วิจัยได้ทำการตรวจและวิเคราะห์ เครื่องสำอางที่มีฉลากไม่ถูกต้องจำนวน 143 ตัวอย่าง พบว่า พบเครื่องสำอางที่ฉลากไม่ถูกต้องหรือเครื่องสำอางอันตรายตาม ประกาศฯ ร้อยละ 95.65 , 80.39 และ 70 ของการตรวจ ตามลำดับ ตัวอย่างเครื่องสำอางร้อยละ 54.55 การทดสอบปรอทและ
สารประกอบของปรอท กรดเรทิโนอิก และไฮโดรควิโนนในร้อยละ 35.66 18.18 และ 11.89 ของเครื่องสำอางที่ตรวจ ตามลำดับ
และในสถานการณ์ปัจจุบัน พบว่า สื่อสังคมโซเชียลมีเดีย เข้ามามีอิทธิพลในการเลือกซื้อสิงค้าแก่ประชาชนทุกกลุ่มวัย ทั้งในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งผลิตภัณฑ์ต่างๆ มีทั้งที่ได้มาตรฐาน และไม่ได้รับมาตรฐาน ทั้งนี้ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง มีความประสงค์ในการจัดโครงการโครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 เพื่อให้ประชาชนทั่วไป มีความรอบรู้ ความตระหนัก และเจตคติในเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สำรวจข้อมูล และการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่
- 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สาธิตประกอบการให้ความรู้ของวิทยากร
- 3 .รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ โดยมีการเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมาเป็นวิทยกรให้ความรู้ และตรวจเครื่องสำอาง โดยเจ้าหน้าที่ผู้ให้ความรู้
- 4. กิจกรรมอสม. นำร่องฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน กิจกรรมลงพื้นที่สุ่มตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ของพื้นที่หมู่ 1 8 9 และ 10 ตำบลดอนประดู่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนสามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจข้อมูล และการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ (2) 2.จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สาธิตประกอบการให้ความรู้ของวิทยากร (3) 3 .รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ โดยมีการเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมาเป็นวิทยกรให้ความรู้ และตรวจเครื่องสำอาง โดยเจ้าหน้าที่ผู้ให้ความรู้ (4) 4. กิจกรรมอสม. นำร่องฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน กิจกรรมลงพื้นที่สุ่มตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ของพื้นที่หมู่ 1 8 9 และ 10 ตำบลดอนประดู่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฉลาดเลือก ฉลาดใช้ ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประเสริฐ เอียดปุ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......