โครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การดูแลตนเองให้รอดปลอดภัยจากโรคติดต่อ (HIV)
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การดูแลตนเองให้รอดปลอดภัยจากโรคติดต่อ (HIV) |
รหัสโครงการ | 68 - L2529 – 02-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มปือมูดอบ้านกำปงบารู (ไอร์จูโจ๊ะ) |
วันที่อนุมัติ | 10 เมษายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 21,825.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอามีน หะยีมะลี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.152,101.492place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 55 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การติดเชื้อเอชไอวี ไม่เท่ากับ การป่วยเป็นโรคเอดส์ การวินิจฉัยอย่างรวดเร็วและการรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่เหมาะสม จะช่วยป้องกันการดำเนินโรคสู่ระยะเอดส์ และ การรักษาด้วยยาต้านไวรัสยังช่วยให้ผู้ที่เคยเป็นเอดส์ กลับมาแข็งแรงใช้ชีวิตได้ตามปกติ การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเป็นการกินยาสม่ำเสมอต่อเนื่องทุกวัน เพื่อให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายฟื้นตัวกลับมาเป็นปกติ และ การที่กินยาต้านไวรัสจนเชื้อในร่างกายเหลือน้อยมาก จะช่วยลดการถ่ายทอดเชื้อไปสู่คนอื่นอีกด้วย เชื้อเอชไอวีไม่ติดต่อทางการสัมผัส หรือ การใช้ชีวิตประจำวันร่วมกัน ทั้งที่บ้าน โรงเรียน หรือที่ทำงาน ดังนั้นหากคนในสังคมเปิดใจยอมรับ และพร้อมที่จะอยู่ร่วมกันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี จะช่วยให้เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีและครอบครัวของผู้ติดเชื้อสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขมากยิ่งขึ้น ในปัจจุบันสามารถวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีได้อย่างรวดเร็ว และให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสสำหรับทั้งเด็กและผู้ใหญ่ที่มีเชื้อเอชไอวีเพื่อหยุดการแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวีในร่างกาย และป้องกันการดำเนินโรคไปสู่ระยะโรคเอดส์ได้ ฉะนั้นทางคณะกลุ่มได้เห็นความสำคัญของการให้ความรู้แก่เยาวชนในเรื่องดังกล่าว เพื่อให้เยาวชนรู้เท่าทัน เพราะเยาวชนอายุ 13-18 ปี ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อเอชไอวีมากกลุ่มวัยอื่น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองให้รอดปลอดภัยจากโรคติดต่อ(HIV)
|
||
2 | ข้อที่ 2.เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ในการหลีกเลี่ยง การป้องกันได้โดยการให้ความรู้และสร้างทัศนคติให้วัยรุ่นตระหนักถึงความสำคัญในการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งในการมีเพศสัมพันธ์ การป้องกันด้วยวิธีการอื่นๆ
|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ธ.ค. 67 | ม.ค. 68 | ก.พ. 68 | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับเยาวชน(2 ธ.ค. 2567-30 ก.ย. 2568) | 13,925.00 | ||||||||||
2 | 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับเยาวชน(2 ธ.ค. 2567-30 ก.ย. 2568) | 7,900.00 | ||||||||||
รวม | 21,825.00 |
1 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับเยาวชน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 55 | 13,925.00 | 0 | 0.00 | |
2 ธ.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับเยาวชน | 55 | 13,925.00 | - | ||
2 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับเยาวชน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 55 | 7,900.00 | 0 | 0.00 | |
2 ธ.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับเยาวชน | 55 | 7,900.00 | - | ||
วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
1.ประชุมเพื่อจัดทำโครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การดูแลตนเองให้รอดปลอดภัยจากโรคติดต่อ(HIV)
2.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติต่อกองทุน สปสช.องค์การบริหารส่วนตำบลศรีสาคร
3.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการที่เสนอ
4.วันที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองให้รอดปลอดภัยจากโรคติดต่อ(HIV)
5.วันที่ 2 อบรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมการหลีกเลี่ยง การป้องกันได้โดยการให้ความรู้และสร้างทัศนคติให้วัยรุ่นตระหนักถึงความสำคัญในการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งในการมีเพศสัมพันธ์ การป้องกันด้วยวิธีการอื่นๆ
1.ร้อยละ 70.00 เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองให้รอดปลอดภัยจากโรคติดต่อ (HIV) 2.ร้อยละ 70.00 เยาวชนมีความรู้ในการหลีกเลี่ยง การป้องกันได้โดยการให้ความรู้และสร้างทัศนคติให้วัยรุ่นตระหนักถึงความสำคัญในการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งในการมีเพศสัมพันธ์ การป้องกันด้วยวิธีการอื่นๆ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2568 20:41 น.