ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ”
ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอำพร ภักดีเจริญกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
ที่อยู่ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-03-01 เลขที่ข้อตกลง 011/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
บทคัดย่อ
โครงการ " ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมือเท้าปาก (Hand Foot Mouth Disease) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอ โรไวรัส ทำให้มีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนังบริเวณมือ ฝ่ามือ เท้า ฝ่าเท้า และภายในปาก และสร้างความเจ็บปวด โดยผู้ป่วยจะมีไข้ร่วมกับอาการป่วยอื่น ๆ ด้วย เช่น ไอ เจ็บคอ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ไม่อยากอาหาร พบมากในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี แต่สามารถเกิดกับเด็กโตและผู้ใหญ่ได้เช่นกัน โดยทั่วไปผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นและหายป่วยภายในเวลาประมาณ 7-10 วัน อาการของโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากมีระยะฟักตัว 3-6 วัน โดยหลังจากได้รับเชื้อ ผู้ป่วยจะเริ่มมีไข้สูง 38-39 องศาเซลเซียสเจ็บคอ ไม่อยากอาหาร ปวดท้อง และอ่อนเพลีย หลังจากมีไข้ 1-2 วัน จะเริ่มมีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนังบริเวณมือ ฝ่ามือ เท้า ฝ่าเท้า และบริเวณปากทั้งภายนอกและภายในตามมา สาเหตุของโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากเกิดจากการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ส่วนใหญ่เกิดจากไวรัสสายพันธุ์ค็อกซากี้ เอ16 (Coxsackie A16 Virus) และบางส่วนอาจเกิดจากเอนเทอโรไวรัส 71 (Enterovirus 71) โดยเชื้อไวรัสสามารถติดต่อกันได้ผ่านการไอหรือจาม การสัมผัสของเหลวหรือของเสียที่ปนเปื้อนเชื้อ นอกจาก 2 สายพันธุ์นี้ ยังมีไวรัสสายพันธุ์อื่น ๆ ที่สามารถเป็นต้นเหตุของโรคมือเท้าปากได้ คือ กลุ่มเอนเทอโรไวรัส เช่น กลุ่มโปลิโอไวรัส (Polioviruses) กลุ่มค็อกซากี้ไวรัส (Coxsackieviruses) กลุ่มเอ็กโค่ไวรัส (Echoviruses) และกลุ่มเอนเทอโรไวรัสชนิดอื่น ๆ (Enteroviruses) การรักษาโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาดในทันที หากป่วยด้วยโรคนี้ ผู้ป่วยควรพักรักษาตัวอยู่ที่บ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ดูแลอาการหรือรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการป่วย แล้วรอจนกว่าอาการเหล่านั้นจะหายไป แต่หากอาการป่วยไม่บรรเทาลง
มีอาการป่วยที่ยิ่งทรุดหนัก หรือมีอาการแทรกซ้อนอย่างอื่นเกิดขึ้นอีก ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป ภาวะแทรกซ้อนของโรคมือเท้าปาก อาการส่วนใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นหลังจากป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก คือ ภาวะขาดน้ำ เพราะการป่วยทำให้เกิดแผลอักเสบภายในปากและลำคอ ทำให้กลืนลำบากและสร้างความเจ็บปวดขณะกลืนน้ำหรืออาหาร ส่วนอาการอื่น ๆ ที่อาจพบตามมา มักเป็นอาการป่วยทั่วไปที่ไม่รุนแรง ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่มีโอกาสพบได้น้อยมาก คือ อาการเล็บมือเล็บเท้าหลุด หรือภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส และภาวะสมองอักเสบ การระบาดของโรคมือ-เท้า-ปาก ในประเทศไทยในขณะนี้แม้ส่วนใหญ่จะเป็นชนิดอาการไม่รุนแรง แต่อย่างไรก็ดีต้องระวังอาการข้อมูลเฝ้าระวังโรคจากสำนักระบาดวิทยา ปี 2560 ข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 พบผู้ป่วย 17,575 รายจาก 77 จังหวัด คิดเป็นอัตราป่วย 26.86 ต่อแสนประชากร อายุที่พบมากที่สุดเรียงลำดับคือ 1 ปี (26.90%)2 ปี (23.40%)3 ปี (17.35%)
ดังนั้นศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อป้องกันควบคุมโรคไม่ให้โรคแพร่กระจาย และลดการป่วยของเด็กจึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ขึ้น พร้อมทั้งให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปากที่ถูกต้องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
- 2. เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
- 3. เพื่อลดอัตราการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
22
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
22
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคมือเท้าปากมากขึ้น
2 ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว สามารถป้องกันและควบคุม โรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างถูกวิธี
3 สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคระบาด เช่นโรคมือเท้า ปาก และโรคติดต่ออื่น ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
ตัวชี้วัด : ป้องกันโรคที่เกิดจากมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ได้ร้อยละ 80
2
2. เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
ตัวชี้วัด : ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ร้อยละ 60
3
3. เพื่อลดอัตราการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัย ลดลง ร้อยละ 60
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
44
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
22
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
22
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว (2) 2. เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว (3) 3. เพื่อลดอัตราการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอำพร ภักดีเจริญกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ”
ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอำพร ภักดีเจริญกุล
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-03-01 เลขที่ข้อตกลง 011/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
บทคัดย่อ
โครงการ " ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมือเท้าปาก (Hand Foot Mouth Disease) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอ โรไวรัส ทำให้มีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนังบริเวณมือ ฝ่ามือ เท้า ฝ่าเท้า และภายในปาก และสร้างความเจ็บปวด โดยผู้ป่วยจะมีไข้ร่วมกับอาการป่วยอื่น ๆ ด้วย เช่น ไอ เจ็บคอ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ไม่อยากอาหาร พบมากในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี แต่สามารถเกิดกับเด็กโตและผู้ใหญ่ได้เช่นกัน โดยทั่วไปผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นและหายป่วยภายในเวลาประมาณ 7-10 วัน อาการของโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากมีระยะฟักตัว 3-6 วัน โดยหลังจากได้รับเชื้อ ผู้ป่วยจะเริ่มมีไข้สูง 38-39 องศาเซลเซียสเจ็บคอ ไม่อยากอาหาร ปวดท้อง และอ่อนเพลีย หลังจากมีไข้ 1-2 วัน จะเริ่มมีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนังบริเวณมือ ฝ่ามือ เท้า ฝ่าเท้า และบริเวณปากทั้งภายนอกและภายในตามมา สาเหตุของโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากเกิดจากการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ส่วนใหญ่เกิดจากไวรัสสายพันธุ์ค็อกซากี้ เอ16 (Coxsackie A16 Virus) และบางส่วนอาจเกิดจากเอนเทอโรไวรัส 71 (Enterovirus 71) โดยเชื้อไวรัสสามารถติดต่อกันได้ผ่านการไอหรือจาม การสัมผัสของเหลวหรือของเสียที่ปนเปื้อนเชื้อ นอกจาก 2 สายพันธุ์นี้ ยังมีไวรัสสายพันธุ์อื่น ๆ ที่สามารถเป็นต้นเหตุของโรคมือเท้าปากได้ คือ กลุ่มเอนเทอโรไวรัส เช่น กลุ่มโปลิโอไวรัส (Polioviruses) กลุ่มค็อกซากี้ไวรัส (Coxsackieviruses) กลุ่มเอ็กโค่ไวรัส (Echoviruses) และกลุ่มเอนเทอโรไวรัสชนิดอื่น ๆ (Enteroviruses) การรักษาโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาดในทันที หากป่วยด้วยโรคนี้ ผู้ป่วยควรพักรักษาตัวอยู่ที่บ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ดูแลอาการหรือรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการป่วย แล้วรอจนกว่าอาการเหล่านั้นจะหายไป แต่หากอาการป่วยไม่บรรเทาลง
มีอาการป่วยที่ยิ่งทรุดหนัก หรือมีอาการแทรกซ้อนอย่างอื่นเกิดขึ้นอีก ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป ภาวะแทรกซ้อนของโรคมือเท้าปาก อาการส่วนใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นหลังจากป่วยด้วยโรคมือเท้าปาก คือ ภาวะขาดน้ำ เพราะการป่วยทำให้เกิดแผลอักเสบภายในปากและลำคอ ทำให้กลืนลำบากและสร้างความเจ็บปวดขณะกลืนน้ำหรืออาหาร ส่วนอาการอื่น ๆ ที่อาจพบตามมา มักเป็นอาการป่วยทั่วไปที่ไม่รุนแรง ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่มีโอกาสพบได้น้อยมาก คือ อาการเล็บมือเล็บเท้าหลุด หรือภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส และภาวะสมองอักเสบ การระบาดของโรคมือ-เท้า-ปาก ในประเทศไทยในขณะนี้แม้ส่วนใหญ่จะเป็นชนิดอาการไม่รุนแรง แต่อย่างไรก็ดีต้องระวังอาการข้อมูลเฝ้าระวังโรคจากสำนักระบาดวิทยา ปี 2560 ข้อมูล ณ วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 พบผู้ป่วย 17,575 รายจาก 77 จังหวัด คิดเป็นอัตราป่วย 26.86 ต่อแสนประชากร อายุที่พบมากที่สุดเรียงลำดับคือ 1 ปี (26.90%)2 ปี (23.40%)3 ปี (17.35%)
ดังนั้นศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อป้องกันควบคุมโรคไม่ให้โรคแพร่กระจาย และลดการป่วยของเด็กจึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ขึ้น พร้อมทั้งให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือเท้าปากที่ถูกต้องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
- 2. เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว
- 3. เพื่อลดอัตราการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 22 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 22 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยเด็กเล็กในกรณีเกิดโรคมือเท้าปากมากขึ้น 2 ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว สามารถป้องกันและควบคุม โรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างถูกวิธี 3 สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคระบาด เช่นโรคมือเท้า ปาก และโรคติดต่ออื่น ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพที่ดีของเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ตัวชี้วัด : ป้องกันโรคที่เกิดจากมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ได้ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ตัวชี้วัด : ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว ร้อยละ 60 |
|
|||
3 | 3. เพื่อลดอัตราการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัย ลดลง ร้อยละ 60 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 44 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 22 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 22 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว (2) 2. เพื่อให้ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และร่วมกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว (3) 3. เพื่อลดอัตราการป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ป้องกันโรคมือเท้าปากในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านราไว จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอำพร ภักดีเจริญกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......