โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.หมู่ที่ 8 ตำบลน้ำผุด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L1498-2-013 เลขที่ข้อตกลง 22/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L1498-2-013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,052.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก นับว่าเป็นโรคติดต่อที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทยจากสถานการณ์การระบาดของโรค พบว่า มีอุบัติการณ์ต่ำกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง และมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง และจะมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี และเริ่มสูงขึ้นในเดือนพฤษภาคมและจะระบาดสูงสุดในช่วงฤดูฝน (เดือนมิถุนายน – กันยายน) ของทุกปีและในช่วงระยะเวลา 2 ปีย้อนหลัง (พ.ศ.2566- 2567) จะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2565 จึงมีโอกาสที่ในปี พ.ศ.2568 จะเกิดการระบาดมากขึ้น
จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 -วันที่ 31 ธันวาคม 2567 มีผู้ป่วยสะสม 105,801 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 162.99 ต่อประชากรแสนคน รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 86 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.13 ต่อประชากรแสนคน และจะพบมากที่สุดในกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี (21.73%) รองลงมากลุ่มอายุ 10 – 14 ปี (17.30%) และพบมากในกลุ่มอาชีพนักเรียน ร้อยละ 37.30 รองลงมาในกลุ่มอาชีพในความปกครอง / ไม่ทราบอาชีพ ร้อยละ 36.30 จากสถานการณ์โรคในพื้นที่จังหวัดตรัง 3 ลำดับแรก โดยกลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2567 พบว่า มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจาก 10 อำเภอในจังหวัดตรัง พบผู้ป่วย 1,307 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 205.38 ต่อประชากรแสนคน พบเสียชีวิต จำนวน 0.00 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตายร้อยละ 0.00 อำเภอที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือ อำเภอย่านตาขาวจำนวน 235 รายคิดเป็นอัตราป่วย 366.97 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ อำเภอเมืองตรัง จำนวน 547 รายคิดเป็นอัตราป่วย 355.54 ต่อประชากรแสนคน และอำเภอนาโยง จำนวน 115 รายคิดเป็นอัตราป่วย 257.89 ต่อประชากรแสนคน และอำเภอที่พบอัตราป่วยต่ำสุดคือ อำเภอนาโยง จำนวน 10 รายคิดเป็นอัตราป่วย 59.38 ต่อประชากรแสนคน และจากสถานการณ์โรคในพื้นที่อำเภอเมืองตรัง 3 ลำดับแรก โดยกลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองตรัง 5 ลำดับแรก ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2567 พบผู้ป่วยทั้งหมด 547 ราย แยกเป็นรายตำบลที่มีผู้ป่วยสูงสุดคือ ตำบลทับเที่ยง จำนวน 132 ราย ตำบลบ้านโพธิ์ จำนวน 61 ราย ตำบลนาพละ จำนวน 50 ราย ตำบลโคกหล่อ จำนวน 48 ราย และตำบลน้ำผุด จำนวน 39 ราย และตำบลที่พบผู้ป่วยน้อยที่สุดคือ ตำบลนาโต๊ะหมิง จำนวน 7 ราย
และในพื้นที่หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ตำบลน้ำผุด ตั้งแต่ ปี 2565 – 2567 พบว่ามีจำนวน 2 , 12 และ 15 คนตามลำดับ ซึ่งพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี จาการสำรวจลูกการสำรวจลูกน้ำยุงลายเพื่อประเมินความเสี่ยงยุงลายในพื้นที่เป้าหมาย 7 ร. คือ โรงเรียน โรงธรรม โรงเรียน โรงแรม โรงงาน โรงพยาบาล สถานที่ราชการ พบว่า วัดเป็นสถานที่ที่พบลูกน้ำยุงลายสูงสุด ร้อยละ 60.9 รองลงมาคือ โรงงาน ร้อยละ 55.6 และโรงเรียน ร้อยละ 46.0 ตามลำดับ และดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมโรค โดยการเตรียมความพร้อมในการควบคุมโรค เช่น ยาทากันยุง ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย สเปรย์กำจัดยุงตัวเต็มวัยสำหรับใช้ในบ้านผู้ป่วย และบ้านในรัศมี 100 เมตรจากบ้านผู้ป่วย และจุดที่สงสัยเป็นแหล่งโรค
ดังนั้น เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง และลดความรุนแรงของโรคในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด เป็นการลดจำนวนป่วย และนำไปสู่การเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ตำบลน้ำผุด ได้เห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์ทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน
- เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน และชุมชน
- เพื่อลดอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจ และทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบของ อสม.โดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง พร้อมแจกทรายกำจัดลูกน้ำ
- กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยทีมหมอครอบครัว/ผู้นำชุมชน /อสม. และประชาชนจิตอาสา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,018
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง
- ร้อยละของบ้านที่สำรวจ พบลูกน้ำยุงลาย (HI) น้อยกว่าร้อยละ 10
- ร้อยละของภาชนะที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลาย (CI) น้อยกว่าร้อยละ 10
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน
- ไม่มีอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลน้ำผุด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อรณรงค์ทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 90 ของหลังคาเรือน และร้อยละ 90 ของหมู่บ้านและชุมชน
0.00
2
เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน และชุมชน
ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมค่าความชุกของลูกน้ำยุงลาย โดยมีค่า HI น้อยกว่าร้อยละ 10 และค่า CI น้อยกว่าร้อยละ 10
0.00
3
เพื่อลดอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร และอัตราป่วยตาย ร้อยละ 0
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1018
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,018
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน (2) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน และชุมชน (3) เพื่อลดอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจ และทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบของ อสม.โดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง พร้อมแจกทรายกำจัดลูกน้ำ (2) กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยทีมหมอครอบครัว/ผู้นำชุมชน /อสม. และประชาชนจิตอาสา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L1498-2-013
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรม อสม.หมู่ที่ 8 ตำบลน้ำผุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 ”
หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.หมู่ที่ 8 ตำบลน้ำผุด
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L1498-2-013 เลขที่ข้อตกลง 22/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L1498-2-013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,052.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก นับว่าเป็นโรคติดต่อที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทยจากสถานการณ์การระบาดของโรค พบว่า มีอุบัติการณ์ต่ำกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง และมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง และจะมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี และเริ่มสูงขึ้นในเดือนพฤษภาคมและจะระบาดสูงสุดในช่วงฤดูฝน (เดือนมิถุนายน – กันยายน) ของทุกปีและในช่วงระยะเวลา 2 ปีย้อนหลัง (พ.ศ.2566- 2567) จะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2565 จึงมีโอกาสที่ในปี พ.ศ.2568 จะเกิดการระบาดมากขึ้น
จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 -วันที่ 31 ธันวาคม 2567 มีผู้ป่วยสะสม 105,801 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 162.99 ต่อประชากรแสนคน รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 86 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.13 ต่อประชากรแสนคน และจะพบมากที่สุดในกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี (21.73%) รองลงมากลุ่มอายุ 10 – 14 ปี (17.30%) และพบมากในกลุ่มอาชีพนักเรียน ร้อยละ 37.30 รองลงมาในกลุ่มอาชีพในความปกครอง / ไม่ทราบอาชีพ ร้อยละ 36.30 จากสถานการณ์โรคในพื้นที่จังหวัดตรัง 3 ลำดับแรก โดยกลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2567 พบว่า มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจาก 10 อำเภอในจังหวัดตรัง พบผู้ป่วย 1,307 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 205.38 ต่อประชากรแสนคน พบเสียชีวิต จำนวน 0.00 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตายร้อยละ 0.00 อำเภอที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือ อำเภอย่านตาขาวจำนวน 235 รายคิดเป็นอัตราป่วย 366.97 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ อำเภอเมืองตรัง จำนวน 547 รายคิดเป็นอัตราป่วย 355.54 ต่อประชากรแสนคน และอำเภอนาโยง จำนวน 115 รายคิดเป็นอัตราป่วย 257.89 ต่อประชากรแสนคน และอำเภอที่พบอัตราป่วยต่ำสุดคือ อำเภอนาโยง จำนวน 10 รายคิดเป็นอัตราป่วย 59.38 ต่อประชากรแสนคน และจากสถานการณ์โรคในพื้นที่อำเภอเมืองตรัง 3 ลำดับแรก โดยกลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองตรัง 5 ลำดับแรก ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2567 พบผู้ป่วยทั้งหมด 547 ราย แยกเป็นรายตำบลที่มีผู้ป่วยสูงสุดคือ ตำบลทับเที่ยง จำนวน 132 ราย ตำบลบ้านโพธิ์ จำนวน 61 ราย ตำบลนาพละ จำนวน 50 ราย ตำบลโคกหล่อ จำนวน 48 ราย และตำบลน้ำผุด จำนวน 39 ราย และตำบลที่พบผู้ป่วยน้อยที่สุดคือ ตำบลนาโต๊ะหมิง จำนวน 7 ราย
และในพื้นที่หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ตำบลน้ำผุด ตั้งแต่ ปี 2565 – 2567 พบว่ามีจำนวน 2 , 12 และ 15 คนตามลำดับ ซึ่งพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี จาการสำรวจลูกการสำรวจลูกน้ำยุงลายเพื่อประเมินความเสี่ยงยุงลายในพื้นที่เป้าหมาย 7 ร. คือ โรงเรียน โรงธรรม โรงเรียน โรงแรม โรงงาน โรงพยาบาล สถานที่ราชการ พบว่า วัดเป็นสถานที่ที่พบลูกน้ำยุงลายสูงสุด ร้อยละ 60.9 รองลงมาคือ โรงงาน ร้อยละ 55.6 และโรงเรียน ร้อยละ 46.0 ตามลำดับ และดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมโรค โดยการเตรียมความพร้อมในการควบคุมโรค เช่น ยาทากันยุง ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย สเปรย์กำจัดยุงตัวเต็มวัยสำหรับใช้ในบ้านผู้ป่วย และบ้านในรัศมี 100 เมตรจากบ้านผู้ป่วย และจุดที่สงสัยเป็นแหล่งโรค
ดังนั้น เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง และลดความรุนแรงของโรคในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด เป็นการลดจำนวนป่วย และนำไปสู่การเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ตำบลน้ำผุด ได้เห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์ทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน
- เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน และชุมชน
- เพื่อลดอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจ และทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบของ อสม.โดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง พร้อมแจกทรายกำจัดลูกน้ำ
- กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยทีมหมอครอบครัว/ผู้นำชุมชน /อสม. และประชาชนจิตอาสา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,018 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง
- ร้อยละของบ้านที่สำรวจ พบลูกน้ำยุงลาย (HI) น้อยกว่าร้อยละ 10
- ร้อยละของภาชนะที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลาย (CI) น้อยกว่าร้อยละ 10
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน
- ไม่มีอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลน้ำผุด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อรณรงค์ทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 90 ของหลังคาเรือน และร้อยละ 90 ของหมู่บ้านและชุมชน |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน และชุมชน ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมค่าความชุกของลูกน้ำยุงลาย โดยมีค่า HI น้อยกว่าร้อยละ 10 และค่า CI น้อยกว่าร้อยละ 10 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร และอัตราป่วยตาย ร้อยละ 0 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1018 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,018 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ทำกิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน (2) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน และชุมชน (3) เพื่อลดอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจ และทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบของ อสม.โดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง พร้อมแจกทรายกำจัดลูกน้ำ (2) กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยทีมหมอครอบครัว/ผู้นำชุมชน /อสม. และประชาชนจิตอาสา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย หมู่ที่ 8 บ้านหนองห้าง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L1498-2-013
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรม อสม.หมู่ที่ 8 ตำบลน้ำผุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......