กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพต้านยาเสพติดในโรงเรียนบ้านป่าเตียว
รหัสโครงการ 68-L1468-2-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านป่าเตียว
วันที่อนุมัติ 9 เมษายน 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 17,610.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุดารัตน์ หยาหยี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2568 30 ก.ย. 2568 17,610.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 17,610.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 47 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญซึ่งมีผลกระทบและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลได้กำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ และกำหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด เพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงานยาเสพติด แล
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้นักเรียนตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดและโทษของยาเสพติด 2. เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมกิจกรรม นำไปสู่การปฏิบัติ การป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด อบายมุข ได้อย่างถูกต้องทั้งตนเองและชุมชน 3. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายนักเรียนในการป้องกัน เฝ้าระวัง ดูแล การแพร่ระบาดของยาเสพติด อบายมุข ในสถานศึกษา
  1. ร้อยละ 90 ของนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และวิธีการป้องกันภัยยาเสพติด

  2. ร้อยละ 80 นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมกิจกรรม นำไปสู่การปฏิบัติ การป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด อบายมุข ได้อย่างถูกต้องทั้งตนเองและชุมชน

  3. มีเครือข่ายนักเรียนในการป้องกัน เฝ้าระวัง ดูแล    การแพร่ระบาดของยาเสพติด อบายมุข ในสถานศึกษา

100.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2568 00:00 น.