ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี ”
ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายมามุ มะเต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ
มิถุนายน 2568
ชื่อโครงการ ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี
ที่อยู่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2489-2-6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มิถุนายน 2568 ถึง 15 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2489-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มิถุนายน 2568 - 15 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขอนามัยพื้นฐาน คือ รากฐานการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง เพื่อการมีสุขภาพกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี และเป็นรากฐานในการใช้ชีวิตประจำวันของคนทุกคน ทุกช่วงอายุตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ สุขอนามัยที่ดีส่วนบุคคลนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน เพราะสุขภาพอนามัยส่วนบุคคลได้ถือว่าเป็นเรื่องส่วนรวมของสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องด้วยสถานการณ์ในปัจจุบันที่โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ มากมาย ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อเป็นต้นเหตุ ดังนั้น การให้ความสำคัญในเรื่องของสุขอนามัย การสร้างนิสัยในการดูแลสุขอนามัยที่ดี และการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพสามารถป้องกันและช่วยให้เราทุกคนห่างไกลจากโรคร้ายๆและความเจ็บป่วยได้
การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี จะช่วยให้ป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากโรคภัย หรือ อุบัติเหตุต่างๆ กลับกัน ถ้าสภาพแวดล้อมไม่ดี สกปรก หนู แมลงสาบวิ่งกันพล่าน นั่นก็จะหมายถึง โรคภัย หรือ อันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ ฉะนั้น จึงมีหลักการพัฒนา 5 ประการ คือ สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี มีชีวิตชีวา
1. สะอาด หมั่นทำความสะอาด ไม่รก ไม่เลอะ ไม่ว่าจะเก็บ กวาด เช็ด ถู ล้าง หรือ คัดแยกขยะ ดังนี้
2. ความปลอดภัย ป้องกันอัคคีภัย ป้องกันอุบัติเหตุ การสวมหมวกนิรภัย
3. สิ่งแวดล้อมดี จะต้องมีการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ สถานที่ต้องไม่ก่อมลพิษต่อสุขภาพ ไม่ว่าจะเรื่อง ฝุ่น เสียง สารเคมี น้ำเสีย และขยะ
4. มีชีวิตชีวา จะต้องส่งเสริมให้คนในชุมชนมีสุขภาพ เพิ่มพื้นที่สีเขียว อากาศบริสุทธิ์ ส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน จัดให้มีกิจกรรมยืดเหยียด ออกกำลังกาย รับประทานอาหารครอบ 5 หมู่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน
- 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.บรรยายเรื่องสุขอนามัย
- กิจกรรม “Cleaning Day”
- บรรยายเรื่องสิ่งแวดล้อมดี
- กิจกรรมปลูกต้นไม้
- 1.บรรยายเรื่องสุขอนามัย การสร้างนิสัยในการดูแลสุขอนามัยที่ดี การคัดแยกขยะและการลดปริมาณขยะ
- บรรยายเรื่องขยะ (ต่อ) และกิจกรรม “Cleaning Day” แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม แยกไปเก็บขยะในชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
- บรรยายเรื่องสิ่งแวดล้อมดี ชีวิตดี การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค
- กิจกรรมปลูกต้นไม้สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน
- ชุมชนสะอาด ปลอดขยะ ปลอดโรคภัย
- ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชนเพิ่มขึ้น
2
2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค
ตัวชี้วัด : 2. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ ปลอดขยะ ปลอดโรค
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน (2) 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.บรรยายเรื่องสุขอนามัย (2) กิจกรรม “Cleaning Day” (3) บรรยายเรื่องสิ่งแวดล้อมดี (4) กิจกรรมปลูกต้นไม้ (5) 1.บรรยายเรื่องสุขอนามัย การสร้างนิสัยในการดูแลสุขอนามัยที่ดี การคัดแยกขยะและการลดปริมาณขยะ (6) บรรยายเรื่องขยะ (ต่อ) และกิจกรรม “Cleaning Day” แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม แยกไปเก็บขยะในชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค (7) บรรยายเรื่องสิ่งแวดล้อมดี ชีวิตดี การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค (8) กิจกรรมปลูกต้นไม้สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2489-2-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมามุ มะเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี ”
ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายมามุ มะเต๊ะ
มิถุนายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2489-2-6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มิถุนายน 2568 ถึง 15 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2489-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มิถุนายน 2568 - 15 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขอนามัยพื้นฐาน คือ รากฐานการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง เพื่อการมีสุขภาพกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี และเป็นรากฐานในการใช้ชีวิตประจำวันของคนทุกคน ทุกช่วงอายุตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ สุขอนามัยที่ดีส่วนบุคคลนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน เพราะสุขภาพอนามัยส่วนบุคคลได้ถือว่าเป็นเรื่องส่วนรวมของสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องด้วยสถานการณ์ในปัจจุบันที่โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ มากมาย ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อเป็นต้นเหตุ ดังนั้น การให้ความสำคัญในเรื่องของสุขอนามัย การสร้างนิสัยในการดูแลสุขอนามัยที่ดี และการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพสามารถป้องกันและช่วยให้เราทุกคนห่างไกลจากโรคร้ายๆและความเจ็บป่วยได้
การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี จะช่วยให้ป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากโรคภัย หรือ อุบัติเหตุต่างๆ กลับกัน ถ้าสภาพแวดล้อมไม่ดี สกปรก หนู แมลงสาบวิ่งกันพล่าน นั่นก็จะหมายถึง โรคภัย หรือ อันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ ฉะนั้น จึงมีหลักการพัฒนา 5 ประการ คือ สะอาด ปลอดภัย สิ่งแวดล้อมดี มีชีวิตชีวา
1. สะอาด หมั่นทำความสะอาด ไม่รก ไม่เลอะ ไม่ว่าจะเก็บ กวาด เช็ด ถู ล้าง หรือ คัดแยกขยะ ดังนี้
2. ความปลอดภัย ป้องกันอัคคีภัย ป้องกันอุบัติเหตุ การสวมหมวกนิรภัย
3. สิ่งแวดล้อมดี จะต้องมีการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ สถานที่ต้องไม่ก่อมลพิษต่อสุขภาพ ไม่ว่าจะเรื่อง ฝุ่น เสียง สารเคมี น้ำเสีย และขยะ
4. มีชีวิตชีวา จะต้องส่งเสริมให้คนในชุมชนมีสุขภาพ เพิ่มพื้นที่สีเขียว อากาศบริสุทธิ์ ส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน จัดให้มีกิจกรรมยืดเหยียด ออกกำลังกาย รับประทานอาหารครอบ 5 หมู่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน
- 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.บรรยายเรื่องสุขอนามัย
- กิจกรรม “Cleaning Day”
- บรรยายเรื่องสิ่งแวดล้อมดี
- กิจกรรมปลูกต้นไม้
- 1.บรรยายเรื่องสุขอนามัย การสร้างนิสัยในการดูแลสุขอนามัยที่ดี การคัดแยกขยะและการลดปริมาณขยะ
- บรรยายเรื่องขยะ (ต่อ) และกิจกรรม “Cleaning Day” แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม แยกไปเก็บขยะในชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค
- บรรยายเรื่องสิ่งแวดล้อมดี ชีวิตดี การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค
- กิจกรรมปลูกต้นไม้สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน
- ชุมชนสะอาด ปลอดขยะ ปลอดโรคภัย
- ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชนเพิ่มขึ้น |
|
|||
2 | 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค ตัวชี้วัด : 2. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดีที่เอื้อต่อสุขภาพ ปลอดขยะ ปลอดโรค |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดีของชุมชน (2) 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.บรรยายเรื่องสุขอนามัย (2) กิจกรรม “Cleaning Day” (3) บรรยายเรื่องสิ่งแวดล้อมดี (4) กิจกรรมปลูกต้นไม้ (5) 1.บรรยายเรื่องสุขอนามัย การสร้างนิสัยในการดูแลสุขอนามัยที่ดี การคัดแยกขยะและการลดปริมาณขยะ (6) บรรยายเรื่องขยะ (ต่อ) และกิจกรรม “Cleaning Day” แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม แยกไปเก็บขยะในชุมชนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค (7) บรรยายเรื่องสิ่งแวดล้อมดี ชีวิตดี การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ห่างไกลโรค (8) กิจกรรมปลูกต้นไม้สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2489-2-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมามุ มะเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......